ข้อมูลโครงการ

โครงการ วิจัย ค้นคว้า ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และกำหนดแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับแผนพัฒนาพลังานทดแทน 15 ปี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กระทรวงพลังงานได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศให้ได้ร้อยละ 20.3 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี พ.ศ. 2565 โดยได้กำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานไฮโดรเจนในภาคคมนาคมขนส่งในปริมาณ 100,000 กิโลกรัม ในปี พ.ศ.

โครงการศึกษา พัฒนาระบบผลิตแก๊สชีวมวลเพื่อผลิตไฟฟ้า ในเครื่องยนต์สันดาปภายใน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงชีวมวล ส่วนใหญ่เป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงแบบสมบูรณ์ (Complete Combustion) เพื่อนำความร้อนที่เกิดชื้นใช้ในการต้มน้ำให้มีความดันและอุณหภูมิสูง ไปขับเทอร์ไบนํในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งจะพบเห็นไต้จากระบบของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก(SPP)หรือใช้เทคโนโลยีที่สามารถผลิตได้ทั้งไฟฟ้าและพลังงานความร้อน (Cogeneration System)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้น

โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ำมันที่สหกรณ์ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี (2551-2565) ขึ้น โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเป็นร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศภายในปี 2565 ซึ่งการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่งก็เป็นส่วนหนึ่งของแผนดังกล่าวด้วย ที่ผ่านมากระทรวงพลังงานได้ดำเนินการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพตามแผน โดยการบูรณาการกับหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เป็นต้น โดย กษ.

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการเป็นศูนย์กลางการค้าเชื้อเพลิงชีวภาพ(HUB) ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้และศึกษาแนวทางกำหนดดัชนีของราคาเอทานอล(Benchmark Price) ที่ซื้อขายในเอเซีย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันในบางไตรมาส มีการผลิตเอทานอลมากกว่าความต้องการใช้ในประเทศ จึงจำเป็นต้องส่งออกเอทานอลไปยังประเทศที่มีความต้องการเอทานอล เช่น จีน อินเดีย เกาหลี เป็นต้น ดังนันจึงควรมีการวิเคราะห์ศักยภาพและศึกษาความเป็นไปได้สำหรับประเทศไทยที่จะเป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel Hub) ในภูมิภาคเอเชีย

โครงการสาธิตต้นแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพในสวนสัตว์ดุสิต

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สวนสัตว์ดุสิต กรุงเทพมหานคร อยู่ภายใต้การกำกับดูแลขององค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตั้งอยู่ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ และสถานที่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการดำรงขีวตของสัตว์ป่าและธรรมชาติ เพี่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนและประชาชนทั่วไปให้เกิดความรัก ความเข้าใจชีวิตของสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อมและให้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์สัตว์ป่าและป่าไม้ซึงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า

โครงการส่งเสริมระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับอาคารของรัฐ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในปัจจุบันหน่วยงานของรัฐหลายประเภทที่จำเป็นต้องใช้น้ำร้อนในการดำเนินงาน เช่น โรงพยาบาล สถานศึกษา เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการผลิตน้ำร้อนโดยใช้พลังงานจากก๊าซและไฟฟ้า หรือหากเป็นอาคารขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม (Boiler) ที่ใช้น้ำมันเตาหรือน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง การใช้พลังงานดังกล่าวในการผลิตน้ำร้อนเป็นการใช้พลังงานเชื้อเพลิงโดยตรงในการสันดาป ซึ่งก่อให้เกิดมลภาวะความร้อนอันส่งผลถึงปัญหาสภาวะโลกร้อน ส่วนการใช้ไฟฟ้าในการผลิตน้ำร้อนก็เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า แม้บางกรณีจะมีประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงก็ตาม เนื่องจากไฟฟ้าเป็นพลังงานคุณภาพสูง (High grade energy) ที่เปลี่ยนรูปมาจากความร้อนก่อน

โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันมีกิจกรรมหลายประเภทที่จำเป็นต้องใช้น้ำร้อน เช่น โรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ร้านเสริมสวย เป็นต้น สำหรับการผลิตน้ำร้อนได้มีการใช้พลังงานหลายรูปแบบ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้มโดยใช้พลังงานจากก๊าซและไฟฟ้า หรือหากเป็นกิจกรรมขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม ( Boiler) ที่ใช้น้ำมันเตา หรือน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง การใช้พลังงานไฟฟ้าในการผลิตน้ำร้อน ถือว่าเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมกับคุณค่าของพลังงานไฟฟ้าทางเลือกหนึ่งของการผลิตน้ำร้อน คือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และความร้อนเหลือทิ้ง (waste-heat) เช่น ความร้อนทิ้งจากชุดระบายอากาศของเครื่องปรับอากาศ สำหรับกิจการโรงแรม โรงพยาบาลหรืออาคารธุรกิจหรือโรงงานบางแห่งน

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวจะมีวัสดุเหลือทิ้งในปริมาณค่อนข้างมาก นอกจากนี้ยังมีชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม เป็นต้น โดยปกติแล้วโรงงานอุตสาหกรรมจะใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้แก่ น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ก๊าซหุงต้ม(แอลพีจี) ถ่านหิน เนื่องจากคุณสมบัติเชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อนสูง การขนส่งเชื้อเพลิงสามารถทำได้สะดวก และราคาเชื้อเพลิงไม่สูงมากนัก แต่ในช่วงระยะเวลากว่าสิบปี ที่ผ่านมาราคาเชื้อเพลิงปิโตรเลียมได้ปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกราคาในตลาดโลก ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากปิ โตรเลียมมาใ

โครงการสาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง ระยะที่ 1 (Demonstration Project of Thailand’s First Ethanol Bus : Phase I)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สำหรับประเทศไทยภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจหลักที่สำคัญที่มีการใช้พลังงานสูงสุด โดยมีสัดส่วนของการใช้พลังงานที่ใกล้เคียงกันมากกว่าร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานทั้งหมด ซึ่งพบว่าทุกภาคเศรษฐกิจ มีการใช้น้ำมันดีเซลมากกว่า 50 ล้านลิตรต่อวัน สำหรับภาคขนส่งมีการใช้ดีเซลในสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 60 ของเชื้อเพลิงทั้งหมด ซึ่งต้องนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาพลังงานทดแทนที่สามารถผลิตขึ้นได้ในประเทศอย่างเช่น “เอทานอล” โดยแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงานนั้น มีการกำหนดเป้าหมายการใช้เอทานอลถึง 9 ล้านลิตรต่อวันอย่างชัดเจน ภายในปีพ.ศ.

Pages