ข้อมูลโครงการ

โครงการศึกษาแนวทางการนำยานยนต์พลังงานสะอาดมาใช้ในประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยมีความต้องการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ภาครัฐต้องนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ใน การคมนาคมขนส่งสูงเพิ่มมากขึ้นด้วย ประกอบกับสถานการณ์ราคาน้ำมันในประเทศมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตามราคาตลาดโลก ก่อให้เกิดภาระทางการเงินของประเทศ อีกทั้งการใช้พลังงานดังกล่าวนี้ในภาคคมนาคมขนส่งยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการพึ่งพิงพลังงานจากแหล่งฟอสซิล กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) เห็นความสำคัญของพลังงานทางเลือกที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น โดยก้าวไปสู่เทคโนโลยีขับเคลื่อนที่ไม่ต้องอาศัยกา

โครงการศึกษาจัดทำระบบเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ( พพ.) มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานและตอบสนองนโยบายของรัฐ ซึ่ง ทาง พพ.

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม SMEs

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันต้นทุนพลังงานเป็นปัจจัยแปรผันสำคัญของสถานประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารธุรกิจ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เพี่อให้สถานประกอบการสามารถดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยตนเอง รวมทั้งมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสำนึกให้กับพนักงานในองค์กร

โครงการติดตามประเมินผลการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม (SMEs)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการติดตามประเมินผลความสำเร็จของโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมสำหรับสถานประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้แก่ ผลการดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ความพึงพอใจในการดำเนินกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ปัญหาและอุปสรรคต่างๆในการดำเนินงาน ความต้องการด้านการส่งเสริมและสนับสนุนต่างๆจากภาครัฐ และข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางส่งเสริมและพัฒนาโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนต่อไป

โครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐ (นอกข่ายควบคุม)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐนอกข่ายควบคุม (อาคารที่ติดตั้งหม้อแปลงต่ำกว่า ๑,๑๗๕ กิโลโวลท์แอมแปร์) โดยเริ่มดำเนินการในอาคารประเภทสำนักงานและโรงพยาบาลทั่วประเทศ จำนวน ๕๐ แห่ง

โครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน(โครงการความร่วมมือด้านพลังานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและลาวค่าว่าจ้างที่ปรึกษาจัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงาน)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เพี่อดำเนินการดามคำแถลงร่วมและบ้นฑีกความเข้าใจด้งกล่าว กระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.) รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตักรอบความร่วมมีอ ACMECS โดยเฉพาะในเรื่องการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทยสู่ สปป.ลาวผ่านทางการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วย
1) การศึกษาสถานภาพการใช้พลังงาน และศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานเพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดทำนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานในระดับประเทศ

โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องในสถาบันอาชีวศึกษา

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องในสถาบันอาชีวศึกษา เป็นโครงการที่สำนักส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (สสอ.) จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลการเข้าแนะนำการอนุรักษ์พลังงานในสถาบันอาชีวศึกษาของทีมเทคนิค จำนวน ๒๐๐ แห่ง สรุปผลปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขให้สถาบันอาชีวศึกษาสามารถดำเนินการอนุรักษ์พลังงานในมาตรการที่มีเทคโนโลยีที่สูงขึ้นมาใช้ในการลดค่าพลังงาน และเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องในสถาบันอาชีวศึกษานำร่อง ๕ แห่ง

โครงการพัฒนาคุณภาพหม้อไอน้ำในภาคอุตสาหกรรม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศโทยมีการใช้ใพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากหลายๆ สาเหตุ ทั้งจากการเติบโตของเศรษฐกิจ และการเพิ่มจำนวนโรงงานหรีอสถานประกอบการ รวมไปถึงการเพิ่มกำลังการผลิตจากหน่วยงานต่างๆ ทำให้ประเทศไทยมีความต้องการพลังงานเพิ่มมากขึ้นจากเดิมเป็นทวีคูณ อีกทั้งด้วยปัจจัยราคาต้นทุนพลังงานที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทำให้ต้นทุนพลังงานของหน่วยงานต่างๆ มีค่าสูงขึ้นมากตามไปด้วยเช่นกัน ประเด็นที่ทำให้ต้นทุนพลังงานของหน่วยงานสูงขึ้นนั้น นอกจากราคาพลังงานจะสูงขึ้นแล้ว อีกสาเหตุหนึ่งก็มาจากการใช้อุปกรณ์อย่างไม่มีประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากการขาดความรู้ความเข้าใจ ในการเลีอกซี้ออุปกรณ์ รวมไปถึงวิธีการใช้งาน และวิธ

โครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

พพ. ได้ส่งเสริมให้อาจารย์ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้รับการพัฒนาทักษะและปนระสบการณ์ในการจัดทำมาตรการอนุรักษ์พลังงานมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดเครือข่ายการอนุรักษ์พลังงาน โดยมีบุคลากรซึ่งเป็นอาจารย์ในสังกัด สอศ. ที่จะได้รับการพัฒนาจัดตั้งขึ้นเป็นทีมเทคนิค จำนวนไม่น้อยกว่า 50 ทีม และส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาแกนนำด้านการอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 5 แห่งทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีการขยายสู่สถาบันอาชีวศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนอีก 450 แห่งทั่วประเทศ

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสเชิงพาณิชย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เซลลูโลส เป็นแหล่งวัตถุดิบที่ได้รับความสนใจจากนักวิทยาศาสตร์ในการนำมาผลิตเอทานอลเป็นอย่างมาก โดยเอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสเป็นเอทานอลที่ผลิตจากวัตถุดิบหลักประเภทฟางข้าว กากอ้อย ซังข้าวโพด และเปลือกไม้ รวมทั้งวัชพืช เช่น ผักตบชวา หญ้า และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เหง้ามันสำปะหลัง เป็นต้น เนื่องจากในวัตถุดิบดังกล่าวจะประกอบด้วยลิกโนเซลลูโลส (Lignocellulosic Material) ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทคาร์โบไฮเดรตที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์พืช ที่เกิดขึ้นจากหน่วยย่อยของน้ำตาลกลูโคสเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวหรือที่เรียกว่าโพลีเมอร์ของน้ำตาลกลูโคส ทำให้เอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสมีสมบัติและลักษณะ

Pages