ข้อมูลโครงการ

โครงการศึกษาและส่งเสริมการใช้ระบบผลิตพลังงานความร้อน ด้วยก๊าชชีวมวลสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

จากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ที่ผ่านมา พบว่า แนวทางหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลสำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม คือ เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวมวล (Gasification) โดยใช้ชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เป็นวัตลุดิบ ภายหลังจากการทำปฎิกริยาจะได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนสูง เหมาะสมต่อการใช้ทดแทน เชื้อเพลิงฟอสซิล สามารถนำไปใช้เพื่อผลิตพลังงานความร้อนในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมได้โดยทำการปรับแต่งอุปกรณ์เพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กมีรูปแบบการใช้พลังงานที่แตกต่างกันหลากหลายแบบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องทำการศ

โครงการพัฒนาและสาธิตระบบผลิตพลังงานจากชีวมวลระดับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตของประเทศส่วนใหญ่ได้จากภาคการเกษตร เช่น ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง เป็นด้น ดังนั้น จึงมีเศษวัสดุเหลือใช้หรือชีวมวลเกิดขึ้นหลังการเก็บ เกี่ยวเป็นจำนวนมาก ซึ่งจากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ในปี พ.ศ. 2546 พบว่าประเทศไทยมีการเพาะปลูกข้าวได้ผลผลิตรวมประมาณ 36,507,164 ตัน และมี เศษวัสดุเหลือใช้เกิดขึ้น ได้แก่ แกลบและฟางข้าว โดยแกลบมีปริมาณรวม 8,250,000 ตัน และจาก การวิเคราะห์คุณสมบัติ พบว่าแกลบมีค่าความร้อนประมาณ 14.40 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ซึ่งมีความ เหมาะสมที่จะสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้าได้

การศึกษาออกแบบเพี่อสาธิตโรงไฟฟ้าจากชีวมวล

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

     ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่สำคัญ ซึ่งมีชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรภายหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปผลิตผลเกษตรเป็นจำนวนมาก  แนวทางหนึ่งที่สามารถนำเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเหล่านี้มาใช้ได้อย่างเหมาะสมคือ การใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าและพลังงาน ความร้อนร่วม (Cogeneration System) เพื่อใช้ในโรงงาน และอาจนำไฟฟ้าที่เหลือใช้ภายในโรงงานขาย ให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในรูปของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer, SPP)

โครงการวิจัยและพัฒนาเตาเผาใช้ก๊าซชีวมวล ในอุตสาหกรรมเซรามิก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       การศึกษามุ่งเน้นการพัฒนาการใช้พลังงานจากการผลิตก๊าซชีวมวลทดแทนก๊าซ LPG ในอุตสาหกรรมเซรามิก การดำเนินการวิจัยประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลด้านพลังงานของโรงงาน อุตสาหกรรมเซรามิก สำรวจและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดกระบวนการผลิต ประสานงานและคัดเลือก โรงงานผลิตเซรามิก เพื่อเก็บข้อมูลรายละเอียดสำหรับการออกแบบจัดสร้างและติดตั้งระบบการผลิตก๊าซ ชีวมวล ณ โรงงานเรืองศิลป์ 2 ซึ่งโรงงานมีการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทตกแต่งคุณภาพสูงที่เผาด้วย เตาเผาเซรามิกแบบเส้นใยและใช้ก๊าซ LPG เป็นเชื้อเพลิง ในการศึกษาครั้งนี้เตาผลิตก๊าซชีวมวลแบบชนิดไหลลง (Downdraft Gasifier)ที่ใช้เชื้อเพลิงไม้ฟืนถูกออกแบบ สร้าง ติดตั้ง

โครงการประชาสัมพันธ์และสนับสนุนเครือข่ายด้านพลังงานชีวมวลและถ่านหินสะอาด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

      ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศ ให้ได้ร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2565 และจัดทำเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม พลังงานทดแทน ประกอบด้วยการผลิตพลังงานความร้อน ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยกำหนด เป้าหมายให้มีการผลิตพลังงานความร้อน เป็นปริมาณรวมปีละ ๆ 7,433 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ พลังงานไฟฟ้าติดตั้งรวม 5,608 เมกะวัตต์ และการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพได้แก่ เอทานอลวันละ 9 ล้านลิตร และไบโอดีเซลวันละ 45 ล้านลิตร โดยเฉพาะวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือชีวมวล ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงที่สุดของประเทศ ดังนั้นรัฐจะต้องดำเนินการส่งเสริมให้มี

โครงการศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมการใซ้ซีวมวลแบบผลิตพลังงานความร้อนตามแผนพัฒนาพลังงานทตแทน 15 ปี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เนื่องด้วยประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตส่วนใหญ่จึงได้จากการเกษตรเป็นสำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์มนํ้ามัน เป็นด้น ซึ่งภายหลังจากการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปพืซผล ทางการเกษตรจะมีชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือทิ้งอยู่บริเวณพื้นที่เพาะปลูก หรือบริเวณสถานที่แปรรูปพืชผล การเกษตรเป็นจำนวนมาก เช่น กากอ้อย แกลบ กากใยปาล์ม ซังข้าวโพด และเศษไม้ เป็นด้น ซึ่งวัสดุ เหลือทิ้งดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นเชื้อเพลิงที่ดี ประกอบกับราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ในปัจจุบัน ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้าหลายแหล่งได้นำเอาวัสดุเหลือทิ้งหรือชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเสร

การศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนแบบครบวงจร

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ในปัจจุบันการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลขนาดใหญ่ ประสบกับปัญหาอุปสรรค อยู่หลายประการ ทั้งข้อจำกัดในด้านศักยภาพชีวมวลในพื้นที่ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ ตลอดจนปัญหาการต่อด้านของชุมชนในพื้นที่รอบโครงการ ซึ่งปัญหาประการหลังนี้เป็นผลมาจาก ผู้พัฒนาโครงการละเลยการชี้แจงและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลให้แก่ ชุมชนในพื้นที่ ประกอบกับเคร่งครัดในการดำเนินการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้าให้ เป็นไปตามมาตรฐานที่ภาครัฐกำหนด โดยที่โครงการโรงฟ้าชีวมวลที่มีขนาดใหญ่บางแห่งมีกำลัง การผลิตไม่สอดคล้องกับศักยภาพของชีวมวลและฐานทรัพยากรในท้องถิ่นรวมไปถึง

การศึกษาและสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟ้า/ความร้อนจากขยะชุมชน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วตามการขยายตัวของเมืองและ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของประซาซน ในขณะที่หน่วยงานรับผิดชอบในการกำจัดขยะส่วน ใหญ่ยังขาดความพร้อมทั้งทางด้านงบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์บุคลากร และสถานที่ที่ใช้ในการกำจัด ขยะจึงทำให้การกำจัดขยะส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการก่อให้เกิดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประซาซน

โครงการส่งเสริมการบริการวิซาการพลังงานขยะในสถานศึกษา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากสถานการณ์พลังงานในปัจจุบันที่ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดการตื่นตัวในการหาพลังงานอื่นๆ มาใช้ทดแทนพลังงานฟอสซิลซึ่งมีปริมาณสำรองลดลง รวมถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโลกร้อนก็เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่ทำให้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานสะอาดได้รับความสนใจมากขึ้น พลังงานทดแทนจากขยะก็เป็น พลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการนำมาใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธีแล้ว ยังสามารถแปลงของเสียให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ประโยชน์อีกด้วย

โครงการพัฒนาและสาธิตถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำเร็จรูปฃนาดเล็ก

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       องค์ประกอบขยะชุมซนในประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันไปตามฤดูกาล ลักษณะทาง เศรษฐกิจและลังคม ตลอดจนแบบแผนในการบริโภคของแต่ละชุมซน/เมือง อย่างไรก็ตาม ขยะชุมซนมีองค์ประกอบซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) ขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายและมีความชื้นสูง เซ่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ใบไม้ ใบหญ้า ประมาณร้อยละ40-60 (2) ขยะที่เผาไหม้ได้ ซึ่งได้แก่ขยะอินทรีย์ ที่ย่อยสลายช้า เซ่น ไม้ยางหนัง และกระดาษ และสารอินทรีย์ลังเคราะห์เซ่นพลาสติก และโฟม ซึ่งมีอยู่ ประมาณร้อยละ 20-40 และ (3) วัสดุเฉื่อย ซึ่งก็คือส่วนที่ไม่เผาไหม้ เซ่น หิน ทราย แก้ว กระเบื้อง อีก ประมาณร้อยละ 5-20

Pages