สถานการณ์พลังงานปี 2556 และแนวโน้มปี 2557

สถานการณ์พลังงานปี 2556 และแนวโน้มปี 2557

ภาพรวมเศรษฐกิจปี 2556

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทยปี 2556 คาดว่าในภาพรวมทั้งปีจะขยายตัวร้อยละ 3.0โดยในช่วงไตรมาสแรกถึงไตรมาสที่สาม ภาวะเศรษฐกิจไทยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 3.7

สถานการณ์ด้านพลังงานปี 2556

1. การใช้ การผลิต และการนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น

การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ในปี 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 2 ล้านบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับปี 2555

 

  • ก๊าซธรรมชาติมีสัดส่วนการใช้มากที่สุด 917,015 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน (สัดส่วนร้อยละ 46) มีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับปี 2555
  • การใช้น้ำมัน มีสัดส่วนรองลงมา 727,559 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน(สัดส่วนร้อยละ 36) มีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับปี 2555
  • การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ 313,320 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน (สัดส่วนร้อละ 16) มีการใช้ลดลงร้อยละ 4.4 เมื่อเทียบกับปี 2555
  • การใช้ไฟฟ้าพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า 46,635 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน(สัดส่วนร้อยละ 2) มีการใช้ลดลงร้อยละ 15.7 เมื่อเทียบกับปี 2555

2. มูลค่าการใช้พลังงาน

ในปี 2556 มีมูลค่าการใช้พลังงาน 2.13 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ

0.9 ดังนี้

  • น้ำมันสำเร็จรูป = 1,327,636 ล้านบาท
  • ไฟฟ้า = 541,974 ล้านบาท
  • ก๊าซธรรมชาติ = 121,147 ล้านบาท
  • ถ่านหิน/ลิกไนต์ = 25,315 ล้านบาท
  • พลังงานทดแทน = 118,469 ล้านบาท

3. มูลค่าการนำเข้าพลังงาน

ในปี 2556 มีมูลค่าการนำเข้าพลังงาน 1.42 ล้านล้านบาท ลดลงจากปี 2555

ร้อยละ 2.0 ดังนี้

  • น้ำมันดิบ = 1,073,000 ล้านบาท
  • ก๊าซธรรมชาติและ LNG = 146,944 ล้านบาท
  • น้ำมันสำเร็จรูป = 134,306 ล้านบาท
  • ถ่านหิน = 39,733 ล้านบาท
  • ไฟฟ้า = 20,168 ล้านบาท

4. มูลค่าการส่งออกพลังงาน

ในปี 2556 มีมูลค่าการส่งออกพลังงาน 357,896 ล้านบาท ลดลงจากปี 2555

ร้อยละ 10.8

  • น้ำมันสำเร็จรูป = 322,621 ล้านบาท
  • น้ำมันดิบ = 30,927 ล้านบาท
  • ไฟฟ้า = 4,348 ล้านบาท

5. สถิติพลังงานแต่ละชนิดในปี 2556

5.1 การจัดหาปิโตรเลียมจากแหล่งในประเทศ (รวมพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-

มาเลเซีย)

  • ปริมาณผลิตก๊าซธรรมชาติ 1.374 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
  • ปริมาณผลิตน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติเหลว 88.7 ล้านบาร์เรล

5.2 ปริมาณสำรองปิโตรเลียม (รวมก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท และน้ำมันดิบ)

  • ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว ณ สิ้นปี 2555 (ประเมินในปี 2556) 2,007 ล้านบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบ

5.3 รายได้ของภาครัฐจากการจัดหาปิโตรเลียม 198,139 ล้านบาท ประกอบด้วย

  • ค่าภาคหลวง 65,198 ล้านบาท (กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติจัดเก็บ)
  • ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 110,620 ล้านบาท (กรมสรรพากรจัดเก็บ)
  • ส่วนแบ่งกำไรจากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย (MTJA) 19,077 ล้านบาท
  • ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ 3,244 ล้านบาท

ทั้งนี้ ได้มีการจัดสรรค่าภาคหลวงให้ท้องถิ่น จำนวน 5,244 ล้านบาท

5.4 ปริมาณการนำเข้าน้ำมันดิบเฉลี่ย 0.87 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยมีราคาเฉลี่ย

น้ำมันดิบนำเข้าอยู่ที่ระดับ 110 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล

5.5 ปริมาณการใช้น้ำมันสำเร็จรูป

  • น้ำมันกลุ่มเบนซิน เฉลี่ย 22.4 ล้านลิตรต่อวัน

    - น้ำมันแก๊สโซฮอล เฉลี่ย 20.7 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ซึ่งมีการใช้

    เฉลี่ย 12.2 ล้านลิตรต่อวัน เนื่องจากภายหลังที่มีการประกาศยกเลิกเบนซินออก

    เทน 91 ตั้งแต่เดือนเมษายน 2556 ทำให้ไม่มีการจำหน่ายน้ำมันเบนซินออกเทน

    91 ภายในประเทศ

    - น้ำมันเบนซิน (เบนซินออกเทน 95) เฉลี่ย 1.70 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปี

    2555 ซึ่งมีการใช้เฉลี่ยเพียง 0.12 ล้านลิตรต่อวัน

    • น้ำมันดีเซล เฉลี่ย 57.2 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ซึ่งมีการใช้เฉลี่ย

    56.2 ล้านลิตรต่อวัน

    5.6 ปริมาณการใช้ LPG รวมทั้งสิ้น 7.47 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ซึ่งมีการใช้

    7.38 ล้านตัน โดยแยกตามประเภทการใช้ดังนี้

    • ใช้ในภาคปิโตรเคมี มีสัดส่วนร้อยละ 35 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1
    • ใช้ในภาคครัวเรือน มีสัดส่วนร้อยละ 32 ลดลงร้อยละ 21.3
    • ใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ มีสัดส่วนร้อยละ 24 เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.8
    • ใช้ในภาคอุตสาหกรรม มีสัดส่วนร้อยละ 8 ลดลงร้อยละ 1.2
    • ใช้เอง มีสัดส่วนร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 14.9

    ทั้งนี้ สัดส่วนการใช้ LPG ที่ลดลงในสาขาครัวเรือนสอดคล้องกับสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นในการใช้เป็นเชื้อเพลิงของรถยนต์ โดยคาดว่าจะเป็นผลมาจากการเพิ่มราคา LPG ภาคครัวเรือน เดือนละ 0.50 บาท ตั้งแต่เดือนกันยายน 2556 ประกอบกับมาตรการเข้มงวดตรวจสอบและปราบปรามการลักลอบจำหน่าย LPG ผิดประเภท ทำให้การลักลอบนำ LPG ภาคครัวเรือนมาขายให้กับภาคขนส่ง รวมทั้งการลักลอบส่งออก LPG ไปขายในประเทศเพื่อนบ้านมีปริมาณลดลง

     

    5.7 การใช้ก๊าซธรรมชาติ เฉลี่ย 4,602 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก

    ปี 2555 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 4,534 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5

    โดยมีการใช้เพิ่มขึ้นในทุกสาขา ยกเว้นการใช้ในโรงแยกก๊าซ

  • ใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้า สัดส่วนร้อยละ 59 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1
  • ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม สัดส่วนร้อยละ 14 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1
  • ใช้สำหรับรถยนต์ (NGV) สัดส่วนร้อยละ 7 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4
  • ใช้ในโรงแยกก๊าซ สัดส่วนร้อยละ 20 ลดลงร้อยละ 2.6

    ทั้งนี้ ในปี 2556 มีผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก ประเภทโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม

    (Cogeneration) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ รวม

    กำลังการผลิตทั้งสิ้น 1,170 เมกะวัตต์ ซึ่งส่งผลให้การใช้ก๊าซธรรมชาติในการ

    ผลิตไฟฟ้าเฉพาะในส่วนของ SPP เพิ่มขึ้นจาก 419 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันในปี

    2555 เป็น 591 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ในปี 2556 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.1

     

    5.8 การใช้ลิกไนต์/ถ่านหิน

    • การใช้ลิกไนต์ รวม 18.6 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 1.8

       

      - ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า สัดส่วนร้อยละ 83

      - ใช้ในภาคอุตสาหกรรม สัดส่วนร้อยละ 17

      (ส่วนใหญ่นำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ในกระบวนการผลิตปูนเม็ด)

      • การใช้ถ่านหินนำเข้า รวม 17.0 ล้านตัน ลดลงจากปี 2555 ร้อยละ 7.5

         

        - ใช้ในภาคอุตสาหกรรม สัดส่วนร้อยละ 54

        - ใช้ในภาคการผลิตไฟฟ้าของ IPP สัดส่วนร้อยละ 33

        - ใช้ในภาคการผลิตไฟฟ้าของ SPP สัดส่วนร้อยละ 13

        5.9 การพัฒนาพลังงานทดแทน

        สัดส่วนพลังงานทดแทนต่อการใช้พลังงานของประเทศในปี 2556 อยู่ที่

        ร้อยละ 10.9 โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ซึ่งมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 9.9 โดยการผลิต

        ไฟฟ้าและการผลิตความร้อน ชีวมวลมีสัดส่วนสูงสุด โดยในส่วนของการใช้

        เชื้อเพลิงชีวภาพในปี 2556 เอทานอลได้เพิ่มขึ้นจากปี 2555 เกือบเท่าตัว

      • ค่าเอฟที ในปี 2556 มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
        • เศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 4.0 - 5.0 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดี

           

          ขึ้นของเศรษฐกิจโลกทำให้ภาคการส่งออกฟื้นตัว และจากการขยายตัวของ

          เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น ญี่ปุ่น จีน และอาเซียน

        • อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยในปี 2557 จะเคลื่อนไหวอยู่ในช่วง 31.5 – 32.5 บาทต่

          ดอลลาร์สหรัฐ

          ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยทั้งปี 2557 มีแนวโน้มอยู่ในช่วง 105 – 110 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล เทียบกับ 105 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล ในปี 2556 ความต้องการพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ในปี 2557 คาดว่าจะอยู่ที่ระดับ 2,055 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 2.5 ตามภาวะเศรษฐกิจที่คาด ว่าจะมีการขยายตัว โดยในปี 2557 คาดว่าความต้องการน้ำมันเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 การใช้ก๊าซ ธรรมชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 จากความต้องการเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า การใช้ลิกไนต์/ถ่านหิน ใกล้เคียงกับปี 2556 ในขณะที่การใช้พลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0

        • น้ำมันสำเร็จรูป ในปี 2557 คาดว่าจะมีปริมาณการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5

        • การใช้น้ำมันเบนซิน คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6

        • การใช้น้ำมันดีเซล คาดว่าจะพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6

        • การใช้น้ำมันเครื่องบิน คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 จากการขยายตัวของการ

          เดินทางทางอากาศเพิ่มมากขึ้น

          LPG จากนโยบายปรับราคาให้สะท้อนต้นทุนที่ผลิตจากโรงแยกก๊าซ โดยทยอยปรับ

           

          รวบรวมและเรียบเรียงโดยศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน สนพ. และ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.พน.

          ผลการดำเนินงานโครงการสำคัญๆ ของกระทรวงพลังงานในปี 2556

          ในช่วงปี 2556 ที่ผ่านมากระทรวงพลังงานได้มีผลการดำเนินงานตามนโยบายของ

          รัฐบาล โดยมีผลงานเด่นที่สำคัญ ดังนี้

          1. ด้านความมั่นคงทางพลังงาน

          การเพิ่มอัตราน้ำมันสำรองตามกฎหมาย

          - ได้ออกประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง “กำหนดชนิด และอัตรา หลักเกณฑ์

          วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณปริมาณสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2556”

          สำหรับการปรับเพิ่มอัตราสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายของภาคเอกชน

          จากเดิมร้อยละ 5 เป็นร้อยละ 6 โดยให้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 พฤศจิกายน

          2556

          - ส่งผลให้ปริมาณน้ำมันสำรอง ณ ปัจจุบันอยู่ที่ระดับ 43 วัน (จากเดิม 36 วัน)

          • การเพิ่มความมั่นคงด้านไฟฟ้าในภาคใต้

             

            - กระทรวงพลังงานได้รายงานต่อ กพช. ถึงแนวทางการเพิ่มความมั่นคงด้านไฟฟ้าในพื้นที่

            ภาคใต้ ในการประชุมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ดังนี้

            1. เสนอให้มีกำลังผลิตไฟฟ้าและกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองที่เพียงพอ เพื่อให้ระบบไฟฟ้าในภาคใต้สามารถพึ่งพาตนเองได้

            2. มอบหมายให้ กฟผ. เร่งดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้า 500 เควี และ/หรือ230 เควี เพื่อเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในภาคใต้

            3. ให้ทบทวนภาพรวมการวางแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าและระบบส่งไฟฟ้า โดยให้ความสำคัญกับความมั่นคงของระบบไฟฟ้าทั้งประเทศ หากพิจารณาว่าจุดใดเป็นจุดที่มีความเสี่ยงและมีความสำคัญต่อประเทศ ให้เพิ่มระดับความมั่นคง ในบริเวณนั้น เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้างขึ้นอีกในอนาคต

            4. กพช. ได้ให้ความเห็นชอบแนวทางในระยะสั้น โดย ให้ กฟผ. พิจารณาใช้น้ำมันปาล์มดิบในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้ากระบี่ในสัดส่วนร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้น้ำมันเตา เพื่อลด ปัญหาด้านการขนส่งน้ำมันเตา

            • การพัฒนาท่อขนส่งน้ำมัน

               

              กระทรวงพลังงานได้เริ่มโครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาเส้นทางท่อขนส่งน้ำมันเพื่อให้การขนส่งน้ำมันจากคลังน้ำมันและโรงกลั่นไปยังพื้นที่ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ประชาชนสามารถใช้นํ้ามันในราคาที่ใกล้เคียงกันทั่วประเทศ

              ขึ้นราคา LPG อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2556 ประกอบกับมาตรการเข้มงวดปราบปรามการลักลอบจำหน่าย LPG ผิดประเภท ส่งผลให้ในปี 2557 การใช้ LPG ในภาคครัวเรือนจะยังคงลดลง โดยคาดว่าจะลดลงร้อยละ 4.7 ส่วนภาคอุตสาหกรรมคาดว่าจะไม่เปลี่ยนแปลงมากนักมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ในขณะที่การใช้ในรถยนต์ยังคงเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ12.9 และการใช้ในภาคปิโตรเคมีคาดว่าจะมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9

               

              ก๊าซธรรมชาติ คาดว่าปริมาณความต้องการในปี 2557 จะเพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 4.0 ตามการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ และการใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้า เนื่องจากจะมีโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงเริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ ได้แก่ โรงไฟฟ้าวังน้อย (ชุดที่4) โรงไฟฟ้าจะนะ (ชุดที่2) บริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จำกัด รวมทั้งโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม(Cogeneration) ของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 3,421 เมกะวัตต์(ตามแผน PDP ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3)

              ไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าในปี 2557 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 ตามภาวะเศรษฐกิจที่

              คาดว่าจะมีมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก

              ค่าเอฟที (Ft) ขายปลีกประจำเดือน มกราคม 2557 – เมษายน 2557 อยู่ที่อัตรา

              59.00 สตางค์ต่อหน่วย ปรับเพิ่มขึ้น 5.00 สตางค์ต่อหน่วย

              2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม (พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน)

              • การยกเลิกน้ำมันเบนซิน 91

                ในปี 2555 ประเทศไทยมีการใช้เอทานอลเฉลี่ยประมาณ 1.3 ล้านลิตรต่อวัน หลังจากการยกเลิกการจำหน่ายน้ำมันเบนซิน 91 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ส่งผลให้การใช้เอทานอลเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 2.5 ล้านลิตรต่อวัน

               

              • โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop

              กพช. ได้มีมติเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เห็นชอบโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา

              o เห็นชอบอัตรา Feed in tariff

              o เห็นชอบปริมาณการส่งเสริม

              - บ้านอยู่อาศัย 100 เมกะวัตต์

              - อาคารธุรกิจขนาดเล็ก กลาง ใหญ่และโรงงาน 100 เมกะวัตต์

              •  

                โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ชุมชน

            - กพช. ได้มีมติเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เห็นชอบให้ดำเนินการรับซื้อไฟฟ้าจาก

            “โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ชุมชน” โดยมีเป้าหมายกำลังผลิตติดตั้ง 800

            เมกะวัตต์ โดยให้มีวันจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (COD) ภายในปี 2557

            - กระทรวงพลังงานได้จัดทำแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ซึ่งได้รับความเห็นชอบ
            จาก กพช. เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 และ ครม. เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 โดย
            แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงานรายภาคเศรษฐกิจ ได้กำหนดพันธกิจและเป้าหมายของ
            การอนุรักษ์พลังงาน ดังนี้

            1) ภาคอุตสาหกรรม มีเป้าหมายลดการใช้พลังงาน 16 ล้านตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

            2) ภาคอาคารธุรกิจและบ้านพักอาศัย มีเป้าหมายลดการใช้พลังงาน 7 ล้านตัน

            เทียบเท่าน้ำมันดิบ

            3) ภาคขนส่ง มีเป้าหมาย ลดการใช้พลังงาน 15 ล้านตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

            3. ด้านราคาพลังงานและการกำกับกิจการพลังงาน

            • โครงการวิสาหกิจชุมชนจากพืชพลังงาน (หญ้าเนเปียร์)

              - กพช. ได้มีมติเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 และ ครม. เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 เห็นชอบอัตราการรับซื้อไฟฟ้าจากโครงการวิสาหกิจชุมชนพลังงานสีเขียวจากพืชพลังงานในรูปแบบ Feed-in Tariff

              - พพ.อยู่ระหว่างดำเนินโครงการศึกษาวิจัยต้นแบบวิสาหกิจชุมชนพลังงานสีเขียวจากพืชพลังงาน (ก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน) โดยจะส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเป็นวิสาหกิจชุมชนหรือสหกรณ์การเกษตรทำการปลูกพืชพลังงาน

            • การจัดทำแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี
              • การปรับโครงสร้างราคาพลังงานของก๊าซหุงต้มหรือ LPG ให้สะท้อนต้นทุน ซึ่งได้มี

                การนำมาตรการบรรเทาผู้มีรายได้น้อยที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการปรับราคา

                มาใช้ควบคู่ไปด้วย โดยได้ทยอยปรับขึ้นราคา LPG ครัวเรือน ขึ้นเดือนละ 0.50 บาท

                ต่อกิโลกรัม ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2556 เป็นต้นไป จนสะท้อนต้นทุนโรงแยกก๊าซ

                ธรรมชาติที่ 24.82 บาทต่อกิโลกรัม

                - สร้างความเป็นธรรมกับผู้ใช้น้ำมัน

                - ลดภาระกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง

                - แก้ไขปัญหาการใช้ผิดประเภท

                - แก้ไขปัญหาในการลักลอบจำหน่ายไปประเทศเพื่อนบ้าน

                - เกิดการบิดเบือนราคา ทำให้เกิดการใช้พลังงานอย่างไม่ประหยัด

                - เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC

                 

                - ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ/ผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ (IPP) สัดส่วนร้อยละ 38

                - ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) สัดส่วนร้อยละ 10

                - ซื้อจากต่างประเทศ สัดส่วนร้อยละ 7

                 

                • การบริหารจัดการราคาน้ำมันเชื้อเพลิง

                  - น้ำมันดีเซล การกำหนดอัตราเงินส่งเข้ากองทุนน้ำมันฯ โดยให้ราคาขายปลีก

                  น้ำมันดีเซลอยู่ในระดับที่เหมาะสมไม่กระทบต่อค่าขนส่งและค่าโดยสารมาก

                  เกินไป โดยรักษาระดับราคานํ้ามันดีเซลไม่ให้เกิน 30 บาท/ลิตร

                  - น้ำมันเบนซินและน้ำมันแก๊สโซฮอล การกำหนดอัตราเงินส่งเข้ากองทุนน้ำมันฯ

                  โดยรักษาระดับส่วนต่างราคาระหว่างน้ำมันเบนซินกับน้ำมันแก๊สโซฮอล เพื่อจูง

                  ใจให้มีการใช้ เอทานอลมากขึ้น

                  - การกำหนดอัตราเงินส่งเข้ากองทุนน้ำมันฯ ให้คำนึงถึงสถานการณ์ราคาน้ำมันใน

                  ตลาดโลก ภาวะเงินเฟ้อของประเทศ การส่งเสริมพลังงานทดแทน และฐานะ

                  กองทุนน้ำมันฯ

                  • มาตรการป้องกันและจับกุมการลักลอบจำหน่ายก๊าซ LPG ข้ามสาขา ส่งผลให้ การใช้ก๊าซ LPG ภาคครัวเรือนลดลงอย่างเห็นได้ชัด
                    • การขายก๊าซธรรมชาติจากแนวท่อสำหรับภาคขนส่ง (Ex-Pipeline) เพื่อขยาย

                      การให้บริการ NGV

                      • ปตท. ได้ดำเนินการลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับผู้ประกอบการขนส่ง

                      และรถโดยสารแล้วจำนวน 9 ราย (11 พื้นที่)

                      • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติเห็นชอบโครงสร้างราคา

                      ก๊าซธรรมชาติจากแนวท่อสำหรับภาคขนส่ง (Ex-Pipeline) เมื่อวันที่ 16

                      กรกฎาคม 2556

                      • คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) มีมติเห็นชอบการกำหนดค่า

                      บริหารจัดการในการขายส่งก๊าซธรรมชาติจากแนวท่อสำหรับภาคขนส่ง เมื่อวันที่

                      27 สิงหาคม 2556

                      • กรมธุรกิจพลังงานจัดทำประกาศกรมธุรกิจพลังงานเรื่อง กำหนดลักษณะและ

                      คุณภาพของก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ พ.ศ. 2556 แล้วเสร็จ ซึ่งจะรองรับ

                      คุณภาพก๊าซจากแนวท่อ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556

                      สรุป ความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางด้านพลังงานของประเทศซึ่งได้รับความ

                      ร่วมมือจากทุกภาคส่วนในช่วงปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมต่อยอดการพัฒนาพลังงาน

                      ทดแทน ในโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา หรือ Solar Rooftop

                      โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ การผลักดันการดำเนินการต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความ

                      มั่นคงทางพลังงาน เช่น การจัดทำแผน PDP ซึ่งยังไม่ผ่านการพิจารณาของ กพช. ก็คงต้อง

                      ดำเนินการต่อไปโดย สนพ. รวมทั้งการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานทางพลังงานทั้งระบบท่อน้ำมัน

                      ท่อก๊าซ และระบบส่งไฟฟ้า ตลอดจน การปรับโครงสร้างราคาพลังงานให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

                      ควบคู่กับมาตรการบรรเทาผลกระทบต่อผู้มีรายได้น้อย

                      สุดท้ายนี้ ผมต้องขอขอบคุณข้าราชการ เจ้าหน้าที่ทั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน

                      ตลอดจนสื่อสารมวลชนทุกแขนงที่ได้มีส่วนร่วมสำคัญในการขับเคลื่อนภารกิจสำคัญทางด้านพลังงาน

                      ของชาติให้มีความก้าวหน้าอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั้งประเทศอย่างแท้จริง

                      แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงานรายภาคเศรษฐกิจ ได้กำหนดพันธกิจและเป้าหมายของ

                      การอนุรักษ์พลังงาน ดังนี้

                      1) ภาคอุตสาหกรรม มีเป้าหมายลดการใช้พลังงาน 16 ล้านตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

                    • กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้า รวม 33,681 เมกะวัตต์ เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ3.32 ซึ่งประกอบด้วย

                    • - การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สัดส่วนร้อยละ 45

                  - ให้ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7, โรงบรรจุก๊าซ สถานีบริการก๊าซ และโรงงาน

                  อุตสาหกรรมรายงานข้อมูลการจำหน่ายและการซื้อเป็นรายเดือน เพื่อ

                  ตรวจสอบปริมาณซื้อ-ขายระหว่างกัน

                  - เพิ่มโทษโรงบรรจุก๊าซที่ลักลอบจำหน่ายข้ามสาขาด้วยการสั่งพักใช้หรือ

                  เพิกถอนหนังสืออนุญาต

                  - ให้ระบุในใบกำกับการขนส่งว่าเป็นการก๊าซโรงบรรจุ สถานีบริการ หรือ

                  โรงงานอุตสาหกรรม และต้องไปยังจุดหมายปลายทางที่ระบุในใบกำกับ

                  การขนส่งเท่านั้น

                  - กำหนดปริมาณบรรจุก๊าซของโรงบรรจุก๊าซไม่เกินขีดความสามารถของ

                  หัวอัดบรรจุของโรงบรรจุก๊าซ คือเดือนละ 62,400 กิโลกรัม/หัวจ่าย

                  - ขอความร่วมมือตำรวจตรวจสอบการนำก๊าซหุงต้มไปจำหน่าย

                  ให้กับภาคอุตสาหกรรมและภาคขนส่ง ให้ส่งใบกำกับการขนส่ง

                  มายังกรมธุรกิจพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ และให้เก็บสำเนา

                  ใบกำกับการขนส่งไว้ 5 ปี

                  5.10 ไฟฟ้า

                  • ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิในระบบของ กฟผ. (Net Peak)ปี 2556 เกิด Peak ณ วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 14.00 น. อยู่ที่ 26,598 เมกะวัตต์ มีค่าสูงกว่าปี 2555 ซึ่งเกิด Peak เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26เมษายน 2555 เวลา 14.30 น. ซึ่งอยู่ที่ 26,121 เมกะวัตต์ อยู่ 477 เมกะวัตต์หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8
                  • การผลิตไฟฟ้า มีจำนวนทั้งสิ้น 179,201 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 1.3

                     

                • - ผลิตจากก๊าซธรรมชาติ สัดส่วนร้อยละ 67

                  - ผลิตจากลิกไนต์/ถ่านหิน สัดส่วนร้อยละ 20

                  - นำเข้าและผลิตจากพลังงานหมุนเวียน สัดส่วนร้อยละ 9

                  - ผลิตจากพลังน้ำ สัดส่วนร้อยละ 3

                  - ผลิตจากน้ำมัน สัดส่วนร้อยละ 1

                  • ารใช้ไฟฟ้า มีจำนวนทั้งสิ้น 165,560 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3

                     

                  - ใช้ในภาคอุตสาหกรรม สัดส่วนร้อยละ 46

                  - ใช้ในภาคครัวเรือน สัดส่วนร้อยละ 23

                  - ใช้ในภาคธุรกิจ สัดส่วนร้อยละ 23

                  - ใช้ในภาคเกษตรกรรมและอื่นๆ สัดส่วนร้อยละ 8

                  ครั้งที่ 1 : ช่วงเดือนมกราคม – เมษายน 2556 อยู่ที่อัตรา 52.04 สตางค์ต่อหน่วยปรับเพิ่มขึ้น 4.04 สตางค์ต่อหน่วย

                  ครั้งที่ 2 : ช่วงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2556 อยู่ที่อัตรา 46.92 สตางค์ต่อหน่วย ปรับลดลง 5.12 สตางค์ต่อหน่วย

                  ครั้งที่ 3 : ช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 อยู่ที่อัตรา 54.00 สตางค์ต่อหน่วย ปรับเพิ่มขึ้น 7.08 สตางค์ต่อหน่วย

                  แนวโน้มการใช้พลังงานปี 2557

                  สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์

                  ภาวะเศรษฐกิจในปี 2557 ดังนี้

ไฟล์/vdo/ข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง: 
AttachmentSize
PDF icon kb00_a125_Thank Press 9.01.2014.pdf291.77 KB