โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต

รายละเอียด: 

ในขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซลชุมชนในปัจจุบัน หลังจากที่มีการแยกกลีเชอรีนจากไบโอดีเซลแล้วจะทำไบโอดีเซลให้ฆริสุทธิ้ด้วยการล้างนั้าเปล่า 3-4 ครั้ง ส่งผลให้เกิดนํ้าเสียขื้น นอกจากนั้นการล้างนํ้าแต่ละครั้งจะใช้เวลานานเพื่อให้เกิดการแยกตัวระหว่างนั้าล้างกับไบโอดีเซล และสุดท้ายต้องมีการกำจัดน้ำในไบโอดีเซล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้นํ้าล้างไบโอดีเซลจะหมดไปถ้าเปลี่ยนเทคนิคมาใช้สารดูดซับแทนการใช้สารดูดซับจะช่วยให้ไม่มีนั้าเสียจากการล้าง ไบโอดีเซลไม่ต้องให้ความร้อนเพื่อกำจัดนั้าที่ตกค้างอีกทั้งยังประหยัดเวลาในการผลิต การเพาะปลูกสบู่ดำ ซงเป็นฟืชนํ้ามันที่สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การเปรยบเทียบผลผลิตระหว่างการปลูกตามปกติทั่วไปและการปลูกตามหลักวิชาการเกษตรตลอดจนการจัดทำ
เครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลที่มีความเหมาะสมสำหรับการผลิตในระดับชุมชน คณะนักวิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลการวิจัยที่เกิดขนจากโครงการนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน นักวิจัยและผู้สนใจทั่วไป รวมถึงเป็นส่วนหนงที่ช่วยผลักดันให้ประเทศสามารถดำเนินงานและบรรลุ เป็าหมายตามแผนยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนของประเทศที่ได้วางไว้ต่อไปดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตไบโอดีเซลชุมชน พพ.จงได้จัดทำโครงการการศึกษาและจัดทำเครื่องต้นแบบผลิตไบ โอดีเซลชุมชนโดยใช้เอทานอลหรือใช้เอทานอลร่วมกับเมทานอลในการทำปฏิกิริยา รวมทั้งศึกษาการผลิตไบโอดีเซลแบบไม่ใช้ระบบล้างนั้า โดยได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือทำการศึกษาวิจัยในครั้งนี้

ปีดำเนินโครงการ: 
เลขที่สัญญา: 
200/52
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 

htg1