โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

รายละเอียด: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

         ที่ผ่านมาในปี 2549 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ดำเนินการพัฒนาและสาธิตลังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำเร็จรูปขนาดเล็ก และติดตั้งใน โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) จำนวน 40 แห่ง ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งด้านการกำจัด เศษขยะอินทรีย์ในโรงเรียน การนำพลังงานก๊าซชีวภาพที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการหุงต้มอาหาร และ ยังเป็นการถ่ายทอดความรูเรื่องการผลัดพลังงานจากขยะ และปลูกจัดสำนึกในการลัดแยกขยะให้ลับ นักเรียน

         เนื่องจากมีโรงเรียนในสังกัด กทม. อีกจำนวนมากที่มีศักยภาพที่จะนำเศษอาหารที่ เกิดขึ้น ในโรงเรียนมาใช้ผลัดก๊าซชีวภาพ ดังนั้น พพ. จึงประสงค์ให้มีการขยายผลการใช้งานลังหมัก ก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม. ให้มากขึ้น โดยจะคัดเลือกโรงเรียนในสังกัด กทม. ที่มีความพร้อม เพื่อเข้าร่วมโครงการ ในการใช้ลังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำเร็จรูปขนาดเล็ก หลังจากนั้นจะ ได้ให้การสนับสนุนทางต้านวิชาการและจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อส่งเสริมนักเรียนและครูให้มีความรู้ ความเข้าใจและสร้างจัดสำนึกให้เห็นถึงกระบวนการอันเป็นประโยชน์ของการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 
เลขที่สัญญา: 
314/51
หน่วยงานที่ดำเนินโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: