ขยะ

แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรและการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองท่าข้าม จ.สุราษฎร์ธานี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 

โครงการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาทางเลือกของการผสมผสานวิธีการจัดการมูลฝอยที่เป็นไปได้สำหรับพื้นที่เทศบาลเมืองท่าข้าม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเลือกรูปแบบการจัดการมูลฝอยที่เหมาะสมและยั่งยืนที่สุดสำหรับเทศบาลเมืองท่าข้าม เพื่อแก้ไขปัญหามูลฝอยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยในโครงการวิจัยที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลเมืองท่าข้าม และ สถานการณ์ปัญหามูลฝอยและประสิทธิภาพการจัดการในปัจจุบัน จากนั้นโครงการวิจัยที่ 2 จะนำข้อมูลพื้นฐานที่ได้ไป สร้างทางเลือกต่างๆ ของรูปแบบการจัดการมูลฝอยแบบผสมผสานตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัด ที่เป็นไปได้สำหรับพื้นที่เทศบาลเมืองท่าข้ามและเลือกระบบการจัดการมูลฝอยแบบผ

โครงการนำร่องการจัดการขยะระดับองค์การบริหารส่วนตำบล

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ขยะมูลฝอยชุมชนเป็นสิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและการบริโภคของมนุษย์ ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและการขาดการจัดการอย่างมีระบบก่อให้เกิดปัญหาอย่างมาก ปัญหาจากขยะชุมชนนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นพร้อมๆ กับการขยายตัวของเมืองและประชากร ในอดีตขยะมีปริมาณไม่มากนัก และส่วนใหญ่เป็นวัสดุธรรมชาติจึงใช้วิธีการจัดการโดยวิธีกองทิ้งหรือฝังกลบ ซึ่งเป็นวิธีการจัดการที่ไม่ถูกสุขลักษณะ แต่ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เพิ่มความสะดวกสบายในการบริโภค ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นแล้วขยะชุมชนยังมีองค์ประกอบที่ซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียตามมา คือ ของเสียที่ผลิตออกมาไม่สามา

การวิจัยและพัฒนาขยะจากเปลือกกล้วยเพื่อใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน การจัดการขยะและ การพัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์ในจังหวัดพิษณุโลก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การวิจัยและพัฒนาขยะจากเปลือกกล้วย เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน โดยนำขยะที่เหลือทิ้งจากการผลิตผลิตภัณฑ์จากกล้วย มาทำการวิจัย 2 โครงการ
โครงการที่ 1 ทำการสกัดเซลลูโลสและใยอาหารจากเปลือกกล้วย
โครงการที่ 2 ผลิตถ่านและถ่านกัมต์มันจากส่วนต่างๆของกล้วย เช่น ก้านเครือ หวี และเปลือก เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง

แผนการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสมของชุมชน: กรณีศึกษาพื้นที่กำจัดขยะ ใน อบต.ในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การกำจัดขยะมูลฝอยในเขต อบต.ในเมือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ เป็นการกำจัดขยะแบบเทกองกลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการกำจัดที่ไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและอยู่ใกล้กับแหล่งชุมชน ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนใกล้เคียง

การศึกษาเชิงนโยบายและการยอมรับของประขาชนในการผลิต ไฟฟ้าจากชีวมวล (จากขยะในเขตกรุงเทพๆ-ปริมณฑลและนอกเขต ปริมณฑล)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาแนวทางการจัดการขยะจำแนกตามปริมาณขยะสำหรับประเทศไทยแบ่งการศึกษาเป็น 3 กลุ่มได้แก่
1. กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
2. ระดับอำเภอ (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
3. ระดับตำบล (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร)
โดยในแต่ละกรณีจะนำเสนอแนวทางโดยพิจารณาผลกระทบ 3 ด้านได้แก่ ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม

Pages