พลังงานทดแทน

โครงการสนับสนุนการลงทุนติดตั้งใช้งานระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันมีกิจกรรมหลายประเภทที่จำเป็นต้องใช้น้ำร้อน เช่น โรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ร้านเสริมสวย เป็นต้น สำหรับการผลิตน้ำร้อนได้มีการใช้พลังงานหลายรูปแบบ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้มโดยใช้พลังงานจากก๊าซและไฟฟ้า หรือหากเป็นกิจกรรมขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม ( Boiler) ที่ใช้น้ำมันเตา หรือน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง การใช้พลังงานไฟฟ้าในการผลิตน้ำร้อน ถือว่าเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมกับคุณค่าของพลังงานไฟฟ้าทางเลือกหนึ่งของการผลิตน้ำร้อน คือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และความร้อนเหลือทิ้ง (waste-heat) เช่น ความร้อนทิ้งจากชุดระบายอากาศของเครื่องปรับอากาศ สำหรับกิจการโรงแรม โรงพยาบาลหรืออาคารธุรกิจหรือโรงงานบางแห่งน

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวจะมีวัสดุเหลือทิ้งในปริมาณค่อนข้างมาก นอกจากนี้ยังมีชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม เป็นต้น โดยปกติแล้วโรงงานอุตสาหกรรมจะใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้แก่ น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ก๊าซหุงต้ม(แอลพีจี) ถ่านหิน เนื่องจากคุณสมบัติเชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อนสูง การขนส่งเชื้อเพลิงสามารถทำได้สะดวก และราคาเชื้อเพลิงไม่สูงมากนัก แต่ในช่วงระยะเวลากว่าสิบปี ที่ผ่านมาราคาเชื้อเพลิงปิโตรเลียมได้ปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกราคาในตลาดโลก ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากปิ โตรเลียมมาใ

โครงการสาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง ระยะที่ 1 (Demonstration Project of Thailand’s First Ethanol Bus : Phase I)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สำหรับประเทศไทยภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจหลักที่สำคัญที่มีการใช้พลังงานสูงสุด โดยมีสัดส่วนของการใช้พลังงานที่ใกล้เคียงกันมากกว่าร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานทั้งหมด ซึ่งพบว่าทุกภาคเศรษฐกิจ มีการใช้น้ำมันดีเซลมากกว่า 50 ล้านลิตรต่อวัน สำหรับภาคขนส่งมีการใช้ดีเซลในสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 60 ของเชื้อเพลิงทั้งหมด ซึ่งต้องนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาพลังงานทดแทนที่สามารถผลิตขึ้นได้ในประเทศอย่างเช่น “เอทานอล” โดยแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงานนั้น มีการกำหนดเป้าหมายการใช้เอทานอลถึง 9 ล้านลิตรต่อวันอย่างชัดเจน ภายในปีพ.ศ.

โครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ สถานีกังหันลมผลิตไฟฟ้าสทิงพระ บ้านพังสเม็ด อ.สทิงพระ จ.สงขลา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้ดำเนินการโครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการศึกษาความเหมาะสม จัดหา และติดตั้งอุปกรณ์เครื่องวัดพลังงานลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยจากผลการศึกษาปรากฎว่า บริเวณชายหาด อ.สทิงพระ จ.สงขลา เป็นที่ที่มีศักยภาพ จึงได้ดำเนินการขอรับการสนับสนุนด้านการเงินจาก สนพ.

Pages