พลังงานทดแทน

โครงการการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการนี้ได้ทำการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราดนำไปสู่การพัฒนาการผลิตไฟฟ้าด้วยทุ่งกังหันลมขนาดใหญ่ โดยได้ทำการคัดเลือกสถานที่เพื่อติดตั้งเสาวัดความเร็วลมจำนวนสองแห่งที่คือ 1) มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ตำบลแสนสุข อำเภอแสนสุข จังหวัดชลบุรี และ 2) ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี การวัดลมกระทำโดยการติดตั้งเสาแบบรั้งด้วยเชือกสูง 120 เมตร พร้อมทั้งระบบเครื่องมือวัดและระบบป้องกันฟ้าผ่า ความเร็วลมและทิศทางลมถูกจัดเก็บทุกๆ 1 นาทีที่ความสูงระดับ 10, 65, 90 และ 120 เมตร และสามารถถูกส่งเป็นแบบรายวันผ่านทางระบบสื่อสารแบบไร้ส

โครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือตอนบน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำเปีนต้องคัดเลือกแหล่งพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมที่ระดับความสูงประมาณ 40-80 เมตร ซึ่งป้จจุบันข้อมูลดังกล่าวในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังไม่มีการศึกษาแหล่งพลังงานลมในภาคสนามอย่างจริงจัง นอกจากนั้นแล้วข้อมูลต้านศักยภาพพลังงานลมที่มีจะเปีนข้อมูลลมที่ใช้ในทางอุตุนิยมวิทยา ซึ่งส่วนมากจะตรวจวัดบนพื้นที่ราบ แต่ตามหลักการของการเกิดพลังงานลมแล้ว พื้นที่ที่มีศักยภาพต้องเปีนพื้นที่บริเวณสันเขาและหุบเขา ดังนั้นโครงการนี่จงได้เสนอที่จะศึกษาศักยภาพพลังงานลมในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน เพื่อที่จะสามารถนำข้อมูลที่ได้นำไปขยายผลในการผลิตไฟฟ้าต่อไป

โครงการชุมชนต้นแบบผลิตเอทานอลด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

จากปัญหาด้านวิกฤตการณ์ด้านราคาของน้ำมันเชื้อเพลิง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้มีการสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาโรงงานต้นแบบสำหรับการผลิตเอทานอลในระดับชุมชนเพื่อสนองตอบต่อนโยบายด้านพลังงานทางเลือกของรัฐบาล โดยมีงานวิจัยที่ผลิตเอทานอลจากน้ำส่าที่ได้จากมันสำปะหลังและกลั่นเป็นเอทานอลจนได้มีความเข้มข้นถึง 70%v/v และมีการทดลองและติดตั้งโรงงานต้นแบบในชุมชนตัวอย่างที่เลือกในงานวิจัยระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ในชุมชน 2 ซึ่งจากโครงการวิจัยที่ผ่านมา ซึ่งประสบความสำเร็จในด้านการพัฒนาระบบโรงงานต้นแบบในชุมชนทั้ง 2 ชุมชน โดยสามารถกลั่นเอทานอลใน ขั้นตอนที่ 2 โดยสามารถเพิ่มความเข้มข้นของเอทานอลได้ถึง 70

โครงการการพัฒนาการผลิตไบโอเอทานอลโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างคลังสายพันธุ์และคลังข้อมูลยีสต์ผลิตเอทานอลที่ทนอุณหภูมิสูงซึ่งเหมาะสมกับการผลิตไบโอเอทานอลในประเทศไทย รวมทั้งต้องมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบที่มีน้าตาลหรือวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลส เพื่อให้การย่อยสลายวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลสให้ได้กลูโคสที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นจึงพยายามสร้างสายพันธุ์ราที่ผลิตเอนไซม์เบต้า-กลูโคซิเดสที่สามารถทางานได้ดีในสภาวะที่มีความเข้มข้นของกลูโคสสูง รวมทั้งทาการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง ด้วยการสร้างเทคโนโลยีต้นแบบระดับกึ่งโรงงานการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงที่พร้อมขยายขนาดสู่อุตสาห

โครงการการพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ข้าวฟ่างหวานเป็นพืชที่มีศักยภาพในการใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเอทานอลเชื้อเพลิงเพราะในน้ำคั้นลำต้นมีปริมาณน้ำตาลสูงใกล้เคียงกับอ้อย และเป็นน้ำตาลที่ยีสต์สามารถนำไปใช้และเปลี่ยนเป็นเอทานอลได้โดยตรง นอกจากนี้ยังเป็นพืชอายุสั้นสามารถเก็บเกี่ยวได้ใน 100 – 120 วัน ความสามารถในการเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นเอทานอลขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น สายพันธุ์ยีสต์ กระบวนการหมัก และความเข้มข้นของน้ำตาลเริ่มต้น เป็นต้น งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากระบวนการหมักเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน โดยยีสต์ Saccharomyces cerevisiae NP 01 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลโดยกระบวนการหม

Pages