โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาด้านเทคนิค

โครงการศึกษาเพื่อประเมินศักยภาพแหล่งน้ำพุร้อนในประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเคยมีการสำรวจแหล่งน้ำพุร้อนนานมาแล้ว โดยข้อมูลส่วนใหญ่เน้นด้านธรณีวิทยาเพื่อพิจารณาหินต้นกำเนิดของน้ำพุร้อน และ/หรือเพื่อมุ่งเน้นการผลิตไฟฟ้าเท่านั้น ดังนั้น ในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนในการดำเนินการพัฒนาแหล่งน้ำพุร้อนเชิงพาณิชย์ เช่น ใช้ในห้องอบแห้ง-ห้องเย็นเพื่อเก็บพืชผลทางการเกษตร รวมทั้งการใช้ประโยชน์ในด้านธาราบำบัด (Spa) จึงมีขีดจำกัดแหล่งน้ำพุร้อนเป็นแหล่งพลังงานที่สามารถจะนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทนเช่น ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้เป็นแหล่งความร้อนในการอบแห้งและอบเย็นพืชผลการเกษตร หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานในการทำห้องปรับอากาศ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดภาระกา

โครงการศึกษาศักยภาพขยะจากหลุมฝังกลบเก่าและแนวทางการใช้ประโยขน์พลังงานขยะ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ตระหนักถึงปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2551 ถึง 15.03 ล้านตัน หรือคิดเป็น 41,064 ตัน/วัน ซึ่งขยะเหล่านี้ควรได้รับการจัดการที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลเพึ๋อไม่ก่อให้เกิด
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและยังสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนได้
พพ.ได้เล็งเห็นศักยภาพของขยะมูลฝอยจากหลุมแงกลบเก่าที่ผ่านการย่อยสลายไปบางส่วนสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนได้ แต่ยังไม่มีการรวบรวมศักยภาพของขยะเหล่านี้ ดังนั้นการศึกษาศักยภาพการผลิตพลังงานจากขยะจากแหล่งฝังกลบเก่าจึงได้ถูกกำหนดให้ศึกษาและบรรจุใน

โครงการศึกษาศักยภาพการผลิตพลังงานจากขยะในโรงงานอุตสาหกรรม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การดำเนินโครงการศึกษาศักยภาพในการผลิตพลังงานจากขยะอุตสาหกรรมนี้ เป็นการศึกษาศักยภาพในการ ผลิตพลังงานจากขยะที่เกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งไม่ใช่ขยะอันตราย ทั้งในส่วนของวัสดุที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและขยะอื่นที่เกิดขึ้น ในเขตโรงงานอุตสาหกรรม
เช่น เศษผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ เศษอาหาร เศษกระดาษ ยาง พลาสติก เป็นต้น รวมทั้งหาแนวทางการนำขยะเหล่านี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการผลิต พลังงานครอบคลุมประเภทโรงงานอุตสาหกรรม อาหาร สิ่งทอ ยาง พลาสติก กระดาษ ผลิตภัณฑ์จากไม้ และ/หรือ อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มีขยะหรือเศษวัสดุที่สามารถนำมาผลิตพลังงานได้

โครงการศึกษาและสาธิตการผลิตก๊าซชีวภาพจากชีวมวล

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) มีความประสงค์ในการศึกษาและสาธิตการผลิตก๊าซชีวภาพจากชีวมวล เนื่องจากชีวมวลที่เหลือใช้จากการเกษตรและอุตสาหกรรมมีเป็นจำนวนมาก เช่น ทะลายและใบปาล์ม ลำต้น เหง้า กากมันสำปะหลัง ยอดและใบอ้อย ตอซังสับปะรด และฟางข้าว เป็นต้น สร้างปัญหาในการจัดเก็บและทำลายแก่ผู้ประกอบการและเกษตรกร บางแห่งก็ถูกกองทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการจัดการที่ดีพอ เมื่อถูกทิ้งไว้ ชีวมวลที่มีความชื้นสูงจึงเกิดการหมักย่อยโดยธรรมชาติ และส่งกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนในพื้นที่ บางแห่งก็ถูกกองทิ้งไว้ให้แห้งและเผาทำลาย เป็นการเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของปรากฎการณ์เรือนกระจก(G

การพัฒนาระบบติดตามข้อมูลการใช้ชีวมวลในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

ปีดำเนินโครงการ: 

 นับวันการใช้พลังงานสำหรับอุตสาหกรรมต่างๆทั่วโลกนั้นมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันประเทศไทยต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศทั้งในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง และถ่านหิน ทั้งๆที่ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรมากกว่าร้อยละ 50 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลพลอยได้ที่สำคัญนอกเหนือจากผลผลิตการเกษตรก็คือ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว แกลบ กากอ้อย กาก ใย ทะลายปาล์ม และผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆอีกเป็นจำนวนมาก ทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพสูงในการใช้เชื้อเพลิง ชีวมวลในอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า สาเหตุที่เรายังไม่สามารถใช้ศักยภาพดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ นอกเหนือจากการขาดการค้นคว้าและวิ

Pages