โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาด้านเทคนิค

การศึกษาศักยภาพพลังงานลมสำหรับการผลิตไฟฟ้าใบเขตภาคกลางของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เนื่องจากนโยบายการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศโดยให้มีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมให้ได้มากถึง 800-1200 MW ภายในปี พ.ศ.

โครงการการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือ ตอบบน ระยะที่ 2 การคัดเลือกแหล่งฟาร์มกังหันลม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการศึกษาวิจัยโครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือตอนบนในระยะที่ 2 นี้จะช่วยสามารถกำหนดแหล่งที่จะพัฒนาฟาร์มกังหันลมในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างเป็นรูปธรรม สามารถที่จะนำไปใช้กำหนดแผนในการพัฒนาพลังงานทดแทนจากพลังงานลม และจะช่วยให้ประหยัดงบประมาณและระยะเวลาในการวิจัยเนื่องจากโครงการมีพื้นที่เป้าหมายเบื้องต้นที่มีศักยภาพและความชำนาญด้านพื้นที่อยู่แล้ว

โครงการการประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพื้นที่ตามแนวซายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ก่อนที่จะนำพลังงานลมมาใช้ในการผลิตไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด จำเป็นต้องมีการประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพื้นที่ (Micrositing) โดยการวิเคราะห์ทางด้านสถิติ การแจกแจงความถี่ ผังลม และลักษณะทางสถิติของข้อมูลลม ความหนาแน่น กำลังของลมรวมทั้งลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ของบริเวณที่จะนำพลังงานลมมาประยุกต์ใช้ เช่น ระดับความสูงและความขรุขระของสิ่งปกคลุมพื้นผิว เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับแนวถนนและระบบสายจำหน่าย เพื่อนำมาประกอบการ ประเมินและ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม การตรวจวัดอัตราเร็วและทิศทางของลมเฉพาะพื้นที่ตามแนวชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย ในระยะเวลารอ

โครงการการศึกษาความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมตามแนวชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้กำหนดยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน โดยมีเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนเป็นร้อยละ 20 ในปี พ.ศ.
2565 ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญและสนใจในการพัฒนาทางด้านพลังงานหมุนเวียนมากขึ้นเพื่อทดแทนการนำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลสำหรับการผลิตไฟฟ้า พลังงานลมเป็นพลังงาน

โครงการการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการนี้ได้ทำการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราดนำไปสู่การพัฒนาการผลิตไฟฟ้าด้วยทุ่งกังหันลมขนาดใหญ่ โดยได้ทำการคัดเลือกสถานที่เพื่อติดตั้งเสาวัดความเร็วลมจำนวนสองแห่งที่คือ 1) มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ตำบลแสนสุข อำเภอแสนสุข จังหวัดชลบุรี และ 2) ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี การวัดลมกระทำโดยการติดตั้งเสาแบบรั้งด้วยเชือกสูง 120 เมตร พร้อมทั้งระบบเครื่องมือวัดและระบบป้องกันฟ้าผ่า ความเร็วลมและทิศทางลมถูกจัดเก็บทุกๆ 1 นาทีที่ความสูงระดับ 10, 65, 90 และ 120 เมตร และสามารถถูกส่งเป็นแบบรายวันผ่านทางระบบสื่อสารแบบไร้ส

Pages