มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โครงการการพัฒนาการผลิตไบโอเอทานอลโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างคลังสายพันธุ์และคลังข้อมูลยีสต์ผลิตเอทานอลที่ทนอุณหภูมิสูงซึ่งเหมาะสมกับการผลิตไบโอเอทานอลในประเทศไทย รวมทั้งต้องมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบที่มีน้าตาลหรือวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลส เพื่อให้การย่อยสลายวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลสให้ได้กลูโคสที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นจึงพยายามสร้างสายพันธุ์ราที่ผลิตเอนไซม์เบต้า-กลูโคซิเดสที่สามารถทางานได้ดีในสภาวะที่มีความเข้มข้นของกลูโคสสูง รวมทั้งทาการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง ด้วยการสร้างเทคโนโลยีต้นแบบระดับกึ่งโรงงานการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงที่พร้อมขยายขนาดสู่อุตสาห

โครงการสถานภาพการผลิตหัวมันสำปะหลังและคุณภาพหัวมัน สำหรับการผลิตเอทานอลเป็นเชื้อเพลิง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

อุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่มีผลกระทบต่อประเทศไทยในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เนื่องจากเอทานอลจัดเป็นพลังงานสะอาดที่ผลิตได้จากวัตถุดิบทางการเกษตรที่มีสามารถปลูกได้ภายในประเทศ และสามารถนำมาใช้ทดแทนน้ำมันเบนซินได้บางส่วน โดยผลิตเป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึ่งจะช่วยลดการนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ โดยวัตถุดิบทางการเกษตรที่สามารถนำมาใช้ผลิตเอทานอลได้ คือ พืชที่ให้น้ำตาลหรือแป้ง ที่สำคัญได้แก่ อ้อยและมันสำปะหลัง มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่มีการใช้ในอุตสาหกรรมผลิตมันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง ก

โครงการการพัฒนาไม้โตเร็วสกุล Acacia เพื่อปลูกบนพื้นที่เสื่อมโทรม สำหรับเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยมีพื้นที่ดินเสื่อมโทรมและพื้นที่ดินทิ้งร้างเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจากการใช้ประโยชน์ที่ดินเกินกำลัง และผิดวิธี นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ดินมีปัญหาอาทิเช่น ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินทรายจัด ที่จัดว่าเป็น non-productive land อีกประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่ประเทศ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการหาแนวทางพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่ดังกล่าวให้สร้างผลผลิตไม่ว่าจะเป็นผลผลิตที่ให้ผลตอบแทนเป็นตัวเงินหรือผลตอบแทนในด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลจากกรมพัฒนาที่ดินเกี่ยวกับพื้นที่เสื่อมโทรมและทิ้งร้างของประเทศ พบว่า พื้นที่ที่ควรมีการพัฒนาฟื้นฟูอย่างเร่งด่วน ได้แก่ พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำน่าน และลุ่มน้ำโ

โครงการการใช้ประโยขน์ไม้โตเร็วเพื่อเป็นพลังงานทดแทนในการ ผลิตกระแสไฟฟ้าและแก๊สหุงต้ม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการการใช้ประโยชน์ไม้โตเร็วเพื่อเป็นพลังงานทดแทนในการผลิตกระแสไฟฟ้าและแก๊สหุงต้มเป็นโครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์หลักคือ จัดตั้งเครือข่ายชุมชนไม้โตเร็ว และพัฒนาระบบการบริหารจัดการไม้โตเร็วในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งโครงการได้ทาการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้เศรษฐกิจ ตาบลหนองพอก โดยมีความร่วมมือกับสถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด มีสมาชิกทั้งหมด 37 คน ได้รับการสนับสนุนกล้าไม้ยูคาลิปตัสพันธุ์จานวน 17,129 กล้า และความรู้เรื่องการปลูกและการจัดการจากโครงการวิจัย โดยกลุ่มฯ ได้จัดการจาหน่ายกล้าไม้ให้สมาชิกในราคาต้นละ 1 บาท เพื่อนาเงินที่ได้มาเป็นกองทุนในการดาเนินงานบริหารงานของกลุ่มฯ และขยาย

โครงการการศึกษามวลชีวภาพของกระถินเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานที่ยั่งยืน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยขึ้นอยูํกับน้ำมันปิโตรเลียมที่นำเข้าจากตำงประเทศ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำามันจึงมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาเหลำนี้การปลูกกระถินเพื่อใช้เป็นพืชพลังงานทดแทนจึงมีความจาเป็นยิ่ง การศึกษาวิจัยนี้ได้แบํงออกเป็น 4 สํวนด้วยกัน สํวนแรกดำเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา อำเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินและเปรียบเทียบผลผลิตสายพันธุ์กระถิน สํวนที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องการเขตกรรมของกระถินในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อคัดเลือกระบบการปลูก ระยะปลู

Pages