มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

การศึกษาและสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟ้า/ความร้อนจากขยะชุมชน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วตามการขยายตัวของเมืองและ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของประซาซน ในขณะที่หน่วยงานรับผิดชอบในการกำจัดขยะส่วน ใหญ่ยังขาดความพร้อมทั้งทางด้านงบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์บุคลากร และสถานที่ที่ใช้ในการกำจัด ขยะจึงทำให้การกำจัดขยะส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการก่อให้เกิดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประซาซน

โครงการการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการนี้ได้ทำการประเมินศักยภาพพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยจนถึงจังหวัดตราดนำไปสู่การพัฒนาการผลิตไฟฟ้าด้วยทุ่งกังหันลมขนาดใหญ่ โดยได้ทำการคัดเลือกสถานที่เพื่อติดตั้งเสาวัดความเร็วลมจำนวนสองแห่งที่คือ 1) มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ตำบลแสนสุข อำเภอแสนสุข จังหวัดชลบุรี และ 2) ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี การวัดลมกระทำโดยการติดตั้งเสาแบบรั้งด้วยเชือกสูง 120 เมตร พร้อมทั้งระบบเครื่องมือวัดและระบบป้องกันฟ้าผ่า ความเร็วลมและทิศทางลมถูกจัดเก็บทุกๆ 1 นาทีที่ความสูงระดับ 10, 65, 90 และ 120 เมตร และสามารถถูกส่งเป็นแบบรายวันผ่านทางระบบสื่อสารแบบไร้ส

โครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้มีการดำเนินงานโครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อการประหยัดพลังงานในปี 2551 จำนวน 50 ทีม โดยให้ เข้าดำเนินการแนะนำวิธีการบริหารจัดการพลังงานในสถาบันอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกซนทั่วประเทศจำนวน 500 แห่ง จากจำนวนทั้งหมดที่มีอยู่ทั่วประเทศประมาณ 824 แห่ง การเข้าแนะนำของทีมเทคนิคประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดียิ่ง ทั้งในด้านความร่วมมือของผู้บริหารสถาบันอาชีวศึกษา ด้านความสามารถของคณะทำงานอนุรักษ์พลังงานที่จัดตั้งขึ้นตามคำแนะนำของทีมเทคนิคเพื่อการบริหารจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในสถาบันอาชีวศึกษาจนทำให้เกิดผลประหยัดพลังงานได้ด้วยตนเอง รวมถึงได้มีการจัด

โครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

พพ. ได้ส่งเสริมให้อาจารย์ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้รับการพัฒนาทักษะและปนระสบการณ์ในการจัดทำมาตรการอนุรักษ์พลังงานมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดเครือข่ายการอนุรักษ์พลังงาน โดยมีบุคลากรซึ่งเป็นอาจารย์ในสังกัด สอศ. ที่จะได้รับการพัฒนาจัดตั้งขึ้นเป็นทีมเทคนิค จำนวนไม่น้อยกว่า 50 ทีม และส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาแกนนำด้านการอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 5 แห่งทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีการขยายสู่สถาบันอาชีวศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนอีก 450 แห่งทั่วประเทศ

โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซลชุมชนในปัจจุบัน หลังจากที่มีการแยกกลีเชอรีนจากไบโอดีเซลแล้วจะทำไบโอดีเซลให้ฆริสุทธิ้ด้วยการล้างนั้าเปล่า 3-4 ครั้ง ส่งผลให้เกิดนํ้าเสียขื้น นอกจากนั้นการล้างนํ้าแต่ละครั้งจะใช้เวลานานเพื่อให้เกิดการแยกตัวระหว่างนั้าล้างกับไบโอดีเซล และสุดท้ายต้องมีการกำจัดน้ำในไบโอดีเซล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้นํ้าล้างไบโอดีเซลจะหมดไปถ้าเปลี่ยนเทคนิคมาใช้สารดูดซับแทนการใช้สารดูดซับจะช่วยให้ไม่มีนั้าเสียจากการล้าง ไบโอดีเซลไม่ต้องให้ความร้อนเพื่อกำจัดนั้าที่ตกค้างอีกทั้งยังประหยัดเวลาในการผลิต การเพาะปลูกสบู่ดำ ซงเป็นฟืชนํ้ามันที่สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การเปรยบเ

Pages