มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โครงการนำร่องเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากซีวมวล ในระดับซุมซน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย ส่วนมากใช้เชื้อเพลิงแก๊ส LPG ใน กระบวนการผลิตตั้งแต่การอบพิมพ์ปูนปลาสเตอร์ การชื้นรูป การเผาบิสกิต และการเผาเคลือบ ซึ่ง คิดเป็นต้นทุนโดยเฉลี่ยประมาณ 20-30% ของต้นทุนการผลิตรวม ซึ่งปีนี้ทางภาครัฐจะมีการยกเลิก เงินอุดหนุนค่าแก๊ส LPG ซึ่งคาดว่าจะทำให้ราคาแก๊ส LPG มีราคาสูงขึ้น 50-100% ส่งผลให้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกมีต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจนไม่สามารถแข่งขันในตลาดโลกไต้

โครงการศึกษาพัฒนาระบบก๊าซชีวมวลในการสูบนํ้าเพื่อการเกษตร

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ก๊าซชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ซึ่งผลิตได้จากชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือ ใช้จากการเกษตร โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลในที่ที่จำกัดปริมาณอากาศ ทำให้ได้ก๊าซเชื้อเพลิงซึ่ง สามารถนำใช้ทดแทนน้ำมันในเครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตพลังงานกลได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการลด ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของเกษตรกร จึงดำเนินการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดเบื้องต้น ของระบบสูบน้ำด้วยก๊าซชีวมวล โดยใช้เชื้อเพลิงชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรที่สามารถหาได้ ในพื้นที่ผลิตก๊าซชีวมวลและใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์สันดาปภายในสำหรับสูบน้ำ ซึ่งจะสามารถช่วยลดด้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน

โครงการศึกษาและส่งเสริมการใช้ระบบผลิตพลังงานความร้อน ด้วยก๊าชชีวมวลสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

จากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ที่ผ่านมา พบว่า แนวทางหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลสำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม คือ เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวมวล (Gasification) โดยใช้ชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เป็นวัตลุดิบ ภายหลังจากการทำปฎิกริยาจะได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนสูง เหมาะสมต่อการใช้ทดแทน เชื้อเพลิงฟอสซิล สามารถนำไปใช้เพื่อผลิตพลังงานความร้อนในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมได้โดยทำการปรับแต่งอุปกรณ์เพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กมีรูปแบบการใช้พลังงานที่แตกต่างกันหลากหลายแบบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องทำการศ