ก๊าซชีวภาพ

โครงการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจสำหรับการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ปลอดภัย

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจสําหรับการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ปลอดภัย เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการให้กับเจ้าหน้าที่ดูแลระบบผลิตก๊าซชีวภาพในการประเมินความเสี่ยงในแต่ละจุดของระบบผลิตก๊าซชีวภาพของตนเอง และพร้อมที่จะบรรเทาและระงับอุบัติเหตุเบื้องต้นที่เกิดขึ้นจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพอย่างถูกต้องตามหลักการ เกิดความรู้ความเข้าใจวิธีปฏิบัติ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ประกอบการที่มีระบบฯและใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพอยู่ โดยมีการจัดทําคู่มือการประเมินความเสี่ยงอันตรายจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ และคู่มือการระงับอุบัติเหตุที่เกิดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ โดยสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางประกอบการป้องกันและบรรเทาเหตุ ลดความสู

โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ำที่ผ่านการบำบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการศึกษาการเพิ่มมูลค่าน้ำ ที่ผ่านการบำบัดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มสุกรตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นโครงการศึกษาที่นำน้ำทิ้งที่ผ่านระบบบำบัดแบบผลิตก๊าซชีวภาพ นำ มาเพิ่มมูลค่า
จากแนวความคิดของการจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกรอย่างครบวงจรเริ่มจากระบบบำบัดน้ำ เสียแบบผลิต
ก๊าซชีวภาพที่ทำการบำบัดน้ำเสียให้มีคุณภาพน้ำดีขึ้นและได้ก๊าซชีวภาพนำไปใช้เป็นพลังงาน กาก
ตะกอนสลัดจ์สามารถนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ นอกจากนี้ยังพบว่าน้ำทิ้งที่ผ่านระบบบำบัดแบบผลิตก๊าซ
ชีวภาพที่สามารถนำไปเพิ่มมูลค่าควบคู่กันไป ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจและสนับสนุน

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียนสังกัด กทม

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สืบเนื่องมาจากการดำเนินการพัฒนาและติดตั้งถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในโรงเรียน สังกัดกทม จำนวน 40 แห่ง ในปี 2549 และในปี 2550 มีการทำความร่วมมือกันระหว่าง กทม กับ กระทรวงพลังงาน ในด้านการอนุรักษืพลังงานและพลังงานทดแทน โดย พพ. ได้มีการให้การสนับสนุนทางวิชาการ ให้ความรู้คำแนะนำ ในการดำเนินงานและดูแลรักษาระบบถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ โดยพพ.

โครงการส่งเสริมระบบผลิตก๊าซชีวภาพในฟาร์มปศุสัตว์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในปี 2550 ได้รับงบกองทุน ดำเนินการโครงการสาธิตระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์
สำเร็จรูปหรือกึ่งสำเร็จรูป จำนวน 2 ระบบ ที่จะนำมาใช้ในการขยายผลในโครงการต่อไป โดยแบบ
พพ. 1 สามารถรองรับของเสียได้ไม่ต่ำกว่า 10 ลบ.ม./วัน (เทียบเท่าสุกรขุน 500 ตัว) และแบบ พพ.2
สามารถรองรับของเสียได้ไม่ต่ำกว่า 2 ลบ.ม./วัน (เทียบเท่าสุกรขุน 100 ตัว) จากการดำเนินงานสามารถ
ส่งเสริมระบบให้สามารถใช้กับฟาร์มสุกร โค ไก่ ม้า และนก จำนวนรวม 43 ระบบ ผลจากการ
ดำเนินการ ยังมีผู้ประกอบการฟาร์มขนาดเล็กที่สนใจและขอสมัครเข้าโครงการอีกเกือบ 200 ราย พพ.

Pages