2549

โครงการการศึกษาการผลิตแก่นตะวันเพื่อการผลิตเอทานอล

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ความต้องการใช้พลังงานมีมากขึ้น แหล่งพลังงานมีอยู่อย่างจากัด จึงมีความพยายามหาแหล่งพลังงานใหม่ ๆ เพื่อสนองความต้องการ พลังงานชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานหนึ่งที่ได้รับความสนใจทั้ง ไบโอดีเซล และแก๊สโซฮอล์ แก๊สโซฮอล์ซึ่งได้จากการนาเอทานอลมาผสมกับน้ามันเบนซิน ในประเทศไทย วัตถุดิบที่สำคัญสาหรับการผลิตเอทานอล คือ อ้อย และมันสาปะหลัง ซึ่งพืชทั้งสองนี้เป็นวัตถุดิบสำคัญของอุตสาหกรรมแป้งและน้าตาล ทำให้วัตถุดิบไม่เพียงพอกับความต้องการจึงมีความพยายามหาวัตถุดิบใหม่ ๆ เพื่อจะนำมาใช้ผลิตเอทานอล แก่นตะวันเป็นพืชหนึ่งที่อยู่ในความสนใจที่จะนำมาใช้ผลิตเอทานอล เพราะมีอายุสั้นเพียง 120 วัน และมีศักยภาพในการให้ผลผลิตส

โครงการสถานภาพการผลิตหัวมันสำปะหลังและคุณภาพหัวมัน สำหรับการผลิตเอทานอลเป็นเชื้อเพลิง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

อุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่มีผลกระทบต่อประเทศไทยในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เนื่องจากเอทานอลจัดเป็นพลังงานสะอาดที่ผลิตได้จากวัตถุดิบทางการเกษตรที่มีสามารถปลูกได้ภายในประเทศ และสามารถนำมาใช้ทดแทนน้ำมันเบนซินได้บางส่วน โดยผลิตเป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึ่งจะช่วยลดการนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ โดยวัตถุดิบทางการเกษตรที่สามารถนำมาใช้ผลิตเอทานอลได้ คือ พืชที่ให้น้ำตาลหรือแป้ง ที่สำคัญได้แก่ อ้อยและมันสำปะหลัง มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่มีการใช้ในอุตสาหกรรมผลิตมันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง ก

โครงการการศึกษาความเป็นไปด้านการผลิตไฟฟ้าระดับชุมชนโดยใช้ พลังงานจากไม้โตเร็ว

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

แนวทางในการลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ที่สาคัญแนวทางหนึ่งคือการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการนามาผลิตกระแสไฟฟ้า ชีวมวลจากไม้โตเร็วที่มีการจัดการปลูกเป็นสวนป่าเป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่น่าสนใจ เนื่องจากไม้เชื้อเพลิงที่ได้ปราศจากธาตุหนักที่ก่อให้เกิดมลพิษที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการแปรรูปพลังงานเป็นความร้อน นอกจากนี้การปลูกป่าเชื้อเพลิงในลักษณะหมุนเวียนจะช่วยลดปัญหาการเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกไปในตัว และสามารถใช้เป็นกิจกรรมที่เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร อย่างไรก็ตามการใช้พลังงานจากไม้โตเร็วนั้นถึงแม้จะมีข้อมูลพันธุ์ไม้โตเร็ว และข้อมูลระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากชีวมวลปรา

โครงการการศึกษามวลชีวภาพของกระถินเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานที่ยั่งยืน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยขึ้นอยูํกับน้ำมันปิโตรเลียมที่นำเข้าจากตำงประเทศ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำามันจึงมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาเหลำนี้การปลูกกระถินเพื่อใช้เป็นพืชพลังงานทดแทนจึงมีความจาเป็นยิ่ง การศึกษาวิจัยนี้ได้แบํงออกเป็น 4 สํวนด้วยกัน สํวนแรกดำเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา อำเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินและเปรียบเทียบผลผลิตสายพันธุ์กระถิน สํวนที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องการเขตกรรมของกระถินในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อคัดเลือกระบบการปลูก ระยะปลู

โครงการศึกษาต้นแบบโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กสำหรับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ด้านพลังงานของประเทศไทยในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่นำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศเป็นหลัก รัฐบาลได้มีนโยบายที่จะพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและพลังงานให้กับประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพของแหล่งเชื้อเพลิงชีวมวล หากสามารถนำพลังงานเหล่านี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะเป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนของประเทศได้

Pages