2549

โครงการศึกษา พัฒนาระบบผลิตแก๊สชีวมวลเพื่อผลิตไฟฟ้า ในเครื่องยนต์สันดาปภายใน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงชีวมวล ส่วนใหญ่เป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงแบบสมบูรณ์ (Complete Combustion) เพื่อนำความร้อนที่เกิดชื้นใช้ในการต้มน้ำให้มีความดันและอุณหภูมิสูง ไปขับเทอร์ไบนํในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งจะพบเห็นไต้จากระบบของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก(SPP)หรือใช้เทคโนโลยีที่สามารถผลิตได้ทั้งไฟฟ้าและพลังงานความร้อน (Cogeneration System)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้น

โครงการศึกษาเพื่อประเมินศักยภาพแหล่งน้ำพุร้อนในประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเคยมีการสำรวจแหล่งน้ำพุร้อนนานมาแล้ว โดยข้อมูลส่วนใหญ่เน้นด้านธรณีวิทยาเพื่อพิจารณาหินต้นกำเนิดของน้ำพุร้อน และ/หรือเพื่อมุ่งเน้นการผลิตไฟฟ้าเท่านั้น ดังนั้น ในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนในการดำเนินการพัฒนาแหล่งน้ำพุร้อนเชิงพาณิชย์ เช่น ใช้ในห้องอบแห้ง-ห้องเย็นเพื่อเก็บพืชผลทางการเกษตร รวมทั้งการใช้ประโยชน์ในด้านธาราบำบัด (Spa) จึงมีขีดจำกัดแหล่งน้ำพุร้อนเป็นแหล่งพลังงานที่สามารถจะนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทนเช่น ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้เป็นแหล่งความร้อนในการอบแห้งและอบเย็นพืชผลการเกษตร หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานในการทำห้องปรับอากาศ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดภาระกา

การพัฒนาระบบติดตามข้อมูลการใช้ชีวมวลในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

ปีดำเนินโครงการ: 

 นับวันการใช้พลังงานสำหรับอุตสาหกรรมต่างๆทั่วโลกนั้นมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันประเทศไทยต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศทั้งในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง และถ่านหิน ทั้งๆที่ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรมากกว่าร้อยละ 50 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลพลอยได้ที่สำคัญนอกเหนือจากผลผลิตการเกษตรก็คือ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว แกลบ กากอ้อย กาก ใย ทะลายปาล์ม และผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆอีกเป็นจำนวนมาก ทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพสูงในการใช้เชื้อเพลิง ชีวมวลในอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า สาเหตุที่เรายังไม่สามารถใช้ศักยภาพดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ นอกเหนือจากการขาดการค้นคว้าและวิ

โครงการการศึกษาวางแผนพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าในพื้นที่ลุ่มนํ้าปิงและยม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก นับเป็นทางเลือกหนึ่งในการบรรเทาปัญหาวิกฤติน้ำมันและพลังงาน โดยสามารถลดการจัดหาทรัพยากรพลังงานที่เป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล จากต่างประเทศ และเป็นการลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศอีกด้วย โดยทางเทคนิคแล้ว ไฟฟ้าพลังน้ำสามารถพัฒนาและดำเนินการได้ง่ายภายในระยะเวลาอันสั้น มีบทบาทที่สำคัญทั้งในการเป็นแหล่งผลิตระดับท้องถิ่นให้กับพื้นที่ที่มีความต้องการไฟฟ้าโดยตรงและยังสามารถเป็นแหล่งพลังงานเสริมให้กับระบบไฟฟ้าหลักของประเทศได้ด้วย ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยใช้ศักยภาพของพลังงานน้ำไปเพียงประมาณร้อยละ 30 เท่านั้น

Pages