คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

พพ. จัดทำ คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เเพื่อให้เป็นแนวทางแก่สถาปนิก วิศวกร และผู้สนใจให้สามารถออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด
พพ. จัดทำ คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เเพื่อให้เป็นแนวทางแก่สถาปนิก วิศวกร และผู้สนใจให้สามารถออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด
การวิจัยนี้ได้คัดเลือกโครงการไฟฟ้าพลังน้ำระดับหมู่บ้าน (ขนาดเล็กมาก) โครงการบ้านขุนปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาวิธีการปรับปรุงความมั่นคงและการเพิ่มประสิทธิภาพของโครงการฯ โดย ระบบพลังงานหมุนเวียนแบบผสมผสาน (Hybrid Renewable Energy Systems) แบบเดี่ยว (Stand-Alone) เพื่อมาเป็นโครงการต้นแบบในการพัฒนาโครงการฯ อื่น ๆ ต่อไป
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมระบบการจำหน่วยผลิตภัณฑ์ที่ติดฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง
คู่มือฉบับนี้อธิบายความต้องการของระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล ISO 50001 อย่างครบถ้วน ก่อนนำไปขยายความถึงแนวทางในการปฏิบัติงานตามความต้องการของข้อกำหนดนั้น ๆ และมีตัวอย่างในการดำเนินการพัฒนาต่อยอดจากการจัดการพลังงานตามกฎหมาย
การอบรมพัฒนาความต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน หลักสูตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงานสำหรับอาคารควบคุม ได้เผยแพร่ผลงานและองค์ความรู้จากการอบรม
การอบรมพัฒนาความต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน หลักสูตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงานสำหรับโรงงานควบคุม ได้เผยแพร่ผลงานและองค์ความรู้จากการอบรม
การอบรมพัฒนาความต่อเนื่องทางวิชาชีพของผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน หลักสูตรการตรวจสอบระบบการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพได้เผยแพร่ผลงานและองค์ความรู้จากการอบรม
การศึกษาแผนด้านพลังงานทดแทน และประเมินความพร้อมด้านนโยบายพลังงานทดแทนของประเทศ เพื่อประเมินทางเลือกจากแหล่งพลังงานทดแทนที่สามารถนำมาพัฒนาได้
คู่มีอนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการเผยแพร่ให้กับนักเรียน นักศึกษา บุคลากรใน สถานศึกษา ตลอดจนประชาชนผู้สนใจทั่วไป ทั้งนี้ เพื่อมุ่งหวังที่จะสร้างจิดสำนึก และกระตุ้นให้เยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการแก้ไขปัญหามลพิษขยะ มูลฝอยได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงเข้าใจในการผลิตและการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการนำ “ขยะมูลฝอย” ซึ่งเป็นสิ่งของเหลือใช้จากการดำเนินกิจกรรมของมนุษยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และเป็นปัญหาของประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น มาผลิตเป็น “พลังงาน” นับเป็นแนวทางหนี่งซึ่งสามารถจัดการปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือในการจัดการพลังง
คู่มีอนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการเผยแพร่ให้กับนักเรียน นักศึกษา บุคลากรใน สถานศึกษา ตลอดจนประชาชนผู้สนใจทั่วไป ทั้งนี้ เพื่อมุ่งหวังที่จะสร้างจิดสำนึก และกระตุ้นให้เยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการแก้ไขปัญหามลพิษขยะ มูลฝอยได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงเข้าใจในการผลิตและการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการนำ “ขยะมูลฝอย” ซึ่งเป็นสิ่งของเหลือใช้จากการดำเนินกิจกรรมของมนุษยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และเป็นปัญหาของประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น มาผลิตเป็น “พลังงาน” นับเป็นแนวทางหนี่งซึ่งสามารถจัดการปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือในการจัดการพลังง