ข้อมูลโครงการ

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตขยะเชื้อเพลิง (RDF)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 40-60 เป็นขยะอินทรีย์ และขยะที่เผาไหม้ได้ ประมาณร้อยละ 20-40 และวัสดุเฉื่อยที่ไม่เผาไหม้อิกประมาณร้อยละ 5-20 ซึ่งหากมีการนำขยะอินทรีย์ไป ผลิตก๊าชชีวภาพ และนำขยะที่เผาไหม้ได้มาผลิตขยะเชื้อเพลิง ก็จะเหลือฃยะที่ต้องนำไปฝังกลบซึ่งเป็นวัสดุเฉื่อยเพียงประมาณร้อยละ 5-20 เท่านั้น

งานรณรงค์สร้างดวามเข้าใจในการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 

     ในปี 2549 การพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมซน เพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนและนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน พร้อมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะของท้องถิ่น และสร้างความเช้าใจในหลักการนำขยะอินทรีย์มาผลิตเป็นพลังงาน โดยมีต้นแบบที่สามารถปฏิบัติและใช้งานได้จริง ซึ่งได้ติดตั้งต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลตำบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร เทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเทศบาลเมืองทุ่งสง จัง

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนกำหนดเป้าหมายให้มีการส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 100 เมกะวัตต์ในปี 2554 รวมทั้งการนำขยะมาผลิตพลังงานในรูปความร้อนในขณะที่ขยะชุมซนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปัจจุบันมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน แต่การดำเนินการจัดเก็บและกำจัดยังประสบปัญหา โดยขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบของขยะชุมซนประมาณร้อยละ 50 เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เซ่น ปัญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้อนของน้ำขยะมูลฝอย การแพร่กระจายของเชื้อโรค และการปลดปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร้อน

โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การรณรงค์สร้างความเข้าใจเพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
      พลังงานจากขยะ เป็นพลังงานทดแทนอย่างหนึ่งที่มีความเป็นไปได้ในการผลิตไฟฟ้า จากการที่ปริมาณขยะชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของชุมชน การนำขยะซึ่งมีเป็นจำนวนมากมาผลิตไฟฟ้า จึงเป็นประโยชน์ทั้งในการผลิตพลังงานทดแทนและยังเป็นการจัดการของเสียที่ถูกวิธีอีกด้วย

การพัฒนาระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
       ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 50 เป็นขยะอินทรีย์ ซึ่งปัจจุบันยังจัดการไม่ถูก สุขลักษณะ เช่น กองทิ้งกลางแจ้ง ฝังกลบอย่างไม่ถูกต้อง ทำให้ขยะอินทรีย์นี้เป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม อย่างรุนแรง หากสามารถแยกขยะอินทรีย์นำมาหมักระบบไร้ออกซิเจนเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ก็สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นพลังงานความร้อนหรือผลิตกระแสไฟฟ้าไต้

การศึกษาศักยภาพพลังงานลมสำหรับการผลิตไฟฟ้าใบเขตภาคกลางของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เนื่องจากนโยบายการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศโดยให้มีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมให้ได้มากถึง 800-1200 MW ภายในปี พ.ศ.

โครงการการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือ ตอบบน ระยะที่ 2 การคัดเลือกแหล่งฟาร์มกังหันลม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการศึกษาวิจัยโครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือตอนบนในระยะที่ 2 นี้จะช่วยสามารถกำหนดแหล่งที่จะพัฒนาฟาร์มกังหันลมในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างเป็นรูปธรรม สามารถที่จะนำไปใช้กำหนดแผนในการพัฒนาพลังงานทดแทนจากพลังงานลม และจะช่วยให้ประหยัดงบประมาณและระยะเวลาในการวิจัยเนื่องจากโครงการมีพื้นที่เป้าหมายเบื้องต้นที่มีศักยภาพและความชำนาญด้านพื้นที่อยู่แล้ว

โครงการการประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพื้นที่ตามแนวซายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ก่อนที่จะนำพลังงานลมมาใช้ในการผลิตไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด จำเป็นต้องมีการประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพื้นที่ (Micrositing) โดยการวิเคราะห์ทางด้านสถิติ การแจกแจงความถี่ ผังลม และลักษณะทางสถิติของข้อมูลลม ความหนาแน่น กำลังของลมรวมทั้งลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ของบริเวณที่จะนำพลังงานลมมาประยุกต์ใช้ เช่น ระดับความสูงและความขรุขระของสิ่งปกคลุมพื้นผิว เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับแนวถนนและระบบสายจำหน่าย เพื่อนำมาประกอบการ ประเมินและ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม การตรวจวัดอัตราเร็วและทิศทางของลมเฉพาะพื้นที่ตามแนวชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย ในระยะเวลารอ

โครงการการศึกษาความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมตามแนวชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้กำหนดยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน โดยมีเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนเป็นร้อยละ 20 ในปี พ.ศ.
2565 ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญและสนใจในการพัฒนาทางด้านพลังงานหมุนเวียนมากขึ้นเพื่อทดแทนการนำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลสำหรับการผลิตไฟฟ้า พลังงานลมเป็นพลังงาน

Pages