โครงการการศึกษามวลชีวภาพของกระถินเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานที่ยั่งยืน

รายละเอียด: 

การผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยขึ้นอยูํกับน้ำมันปิโตรเลียมที่นำเข้าจากตำงประเทศ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำามันจึงมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาเหลำนี้การปลูกกระถินเพื่อใช้เป็นพืชพลังงานทดแทนจึงมีความจาเป็นยิ่ง การศึกษาวิจัยนี้ได้แบํงออกเป็น 4 สํวนด้วยกัน สํวนแรกดำเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา อำเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินและเปรียบเทียบผลผลิตสายพันธุ์กระถิน สํวนที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องการเขตกรรมของกระถินในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อคัดเลือกระบบการปลูก ระยะปลูกและวิธีการตัดที่เหมาะสมสาหรับการผลิตกระถินเพื่อใช๎เป็นพืชพลังงาน สํวนที่ 3 เป็นการศึกษาการปลูกพืชไรํแซมระหวำงแถวกระถิน โดยดาเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจเชํนเดียวกัน สำหรับสํวนสุดท้ายเป็นการศึกษาผลของการปลํอยสัตว์เข้าแทะเล็มตํอผลผลิตมวลชีวภาพของกระถิน โดยงานทดลองอยูํในบริเวณองค์การสํงเสริมกิจการโคนมแหํงประเทศไทย อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรีระหวำงเดือนตุลาคม 2549- เดือนกุมภาพันธ์ 2552
ผลงานทดลองในสํวนแรกพบวำ สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตมวลชีวภาพดีที่สุด ได๎แกํ สายพันธุ์ KU3 KU19 KU38 KU45 KU48 และTarramba สายพันธุ์เหลำนี้ให้ผลผลิตชีวมวลรวม 2 ปีระหวำง 12.6-14.0 ตัน/ไรํ ในงานวิจัยเปรียบเทียบพันธุ์ กระถินพันธุ์ทารัมบ๎า 5/7 และ5/8 มีความสูง ขนาดของลาต๎นและผลผลิตชีวมวลใกล๎เคียงกัน และสูงกวำพันธุ์คันนิ่งแฮม และเปรู ในด้านของระยะการปลูกพบวำการใช้ระยะการปลูกระหวำงแถวแคบ (1x0.25 และ1.50 เมตร) ให๎ผลผลิตมวลชีวภาพสูงสุด กระถินสามารถตัดได๎ในระดับความสูง 5 เซนติเมตร โดยไมํมีผลกระทบตํอการฟื้นตัวของพืชในภายหลัง และควรตัดอยำงน๎อยทุกๆ 12 เดือน กระถินทุกพันธุ์ให๎พลังงานใกล๎เคียงกัน (4.5-4.7 กิโลแคลอรี่ตํอกรัม) แม๎วำความหนาแนํนของเนื้อไม๎จะมีคำแตกตำงกัน (0.39-1.05 กรัมตํอลูกบาศก์เซนติเมตร) ในด้านองค์ประกอบทางเคมี พบวำกระถินทุกสายพันธุ์มีปริมาณโปรตีนในใบสูง (17.2-25.7%) และมีแรํธาตุอาหารแตกตำงกันทั้ง P, K, Ca, Mg, NDF, ADL, hemicelluloses และ cellulose
ผลงานวิจัยในสํวนที่ 3 และ 4 แสดงให๎เห็นวำระยะปลูกที่เหมาะสมตํอการปลูกมันสาปะหลังแซม ต้องไมํน้อยกวำ 4 เมตร และหลังการเก็บเกี่ยวกระถินควรนาใบกระถินใสํลงในแปลง พร้อมพรวนกลบกํอนปลูกมันสำปะหลังอีกครั้ง ในด้านการปลูกเพื่อเพื่อเลี้ยงสัตว์รํวมด้วย กระถินสามารถปลํอยสัตว์ลงแทะเล็มได้ทุกๆ 2 เดือน โดยไมํมีผลกระทบตํอผลผลิตชีวมวลทั้งในสํวนใบและลำต้น

ปีดำเนินโครงการ: 
หน่วยงานที่ดำเนินโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ที่อยู่: 
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 196 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0 2561 2445 โทรสาร 0 2940 5744 , 0 2579 0455