2551

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนกำหนดเป้าหมายให้มีการส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 100 เมกะวัตต์ในปี 2554 รวมทั้งการนำขยะมาผลิตพลังงานในรูปความร้อนในขณะที่ขยะชุมซนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปัจจุบันมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน แต่การดำเนินการจัดเก็บและกำจัดยังประสบปัญหา โดยขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบของขยะชุมซนประมาณร้อยละ 50 เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เซ่น ปัญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้อนของน้ำขยะมูลฝอย การแพร่กระจายของเชื้อโรค และการปลดปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร้อน

โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

โครงการการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือ ตอบบน ระยะที่ 2 การคัดเลือกแหล่งฟาร์มกังหันลม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการศึกษาวิจัยโครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือตอนบนในระยะที่ 2 นี้จะช่วยสามารถกำหนดแหล่งที่จะพัฒนาฟาร์มกังหันลมในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอย่างเป็นรูปธรรม สามารถที่จะนำไปใช้กำหนดแผนในการพัฒนาพลังงานทดแทนจากพลังงานลม และจะช่วยให้ประหยัดงบประมาณและระยะเวลาในการวิจัยเนื่องจากโครงการมีพื้นที่เป้าหมายเบื้องต้นที่มีศักยภาพและความชำนาญด้านพื้นที่อยู่แล้ว

โครงการการศึกษาความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมตามแนวชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้กำหนดยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน โดยมีเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนเป็นร้อยละ 20 ในปี พ.ศ.
2565 ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญและสนใจในการพัฒนาทางด้านพลังงานหมุนเวียนมากขึ้นเพื่อทดแทนการนำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลสำหรับการผลิตไฟฟ้า พลังงานลมเป็นพลังงาน

โครงการการพัฒนาการผลิตไบโอเอทานอลโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างคลังสายพันธุ์และคลังข้อมูลยีสต์ผลิตเอทานอลที่ทนอุณหภูมิสูงซึ่งเหมาะสมกับการผลิตไบโอเอทานอลในประเทศไทย รวมทั้งต้องมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบที่มีน้าตาลหรือวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลส เพื่อให้การย่อยสลายวัสดุประเภทลิกโนเซลลูโลสให้ได้กลูโคสที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นจึงพยายามสร้างสายพันธุ์ราที่ผลิตเอนไซม์เบต้า-กลูโคซิเดสที่สามารถทางานได้ดีในสภาวะที่มีความเข้มข้นของกลูโคสสูง รวมทั้งทาการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดยยีสต์ที่ทนอุณหภูมิสูง ด้วยการสร้างเทคโนโลยีต้นแบบระดับกึ่งโรงงานการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงที่พร้อมขยายขนาดสู่อุตสาห

Pages