แสงอาทิตย์

โครงการพัฒนาฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์และระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 1 ระบบ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เป็นการปรับปรุงการเชื่อมโยงข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ให้สามารถแสดงผลได้ต่อเนื่อง ถูกต้อง และรวดเร็ว และพัฒนาระบบฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของ พพ. รวมถึงประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทยให้มีความหลากหลาย

การติดตามสถานภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การติดตามสภานภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย เพื่อติดตามและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และสรุปเป็นรายงานสถานภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย และเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย เชื่อมโยงไปสู่การสร้างเครือข่ายด้านวิชาการกับต่างประเทศ

โครงการศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่ในการบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อให้ทราบศักยาพที่แท้จริงสำหรับใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบบการจัดตั้งโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ (solar farm) และ การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาอาคาร (solar roof-top)

โครงการศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่ในการบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากการส่งเสริมและการเติบโตด้านการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องในประเทศไทย มีประเด็นสำคัญที่ต้องคำนึงถึงอย่างยิ่งคือ “ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม” ที่อาจจะเกิดขึ้นจากกากขยะ ที่เกิดจากโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เช่น แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่หมดอายุการใช้งานหรือเสื่อมสภาพ เพื่อให้การส่งเสริมด้านการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยเกิดความยั่งยืน และสอดรับกับร่างแผนแม่บทการบริหารจัดการกากขยะผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิคส์: กากขยะเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้จัดทำขึ้นด้านยุทศาสตร์การบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ระบุถึงมาตรการในการจัดตั

โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปี 2553

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

            ปัจจุบันมีกิจกรรมหลายประเภทที่จำเป็นต้องใช้น้ำร้อน  เช่น  โรงพยาบาล  โรงแรม  ร้านอาหาร  ร้านเสริมสวย  เป็นต้น  โดยการผลิตน้ำร้อนได้มีการใช้พลังงานหลายรูปแบบ  ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้มโดยใช้พลังงานจากก๊าซและไฟฟ้า หรือหากเป็นกิจกรรมขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม ( Boiler) ที่ใช้น้ำมันเตา หรือน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง

Pages