ลม

โครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในเขตภาคเหนือตอนบน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำเปีนต้องคัดเลือกแหล่งพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมที่ระดับความสูงประมาณ 40-80 เมตร ซึ่งป้จจุบันข้อมูลดังกล่าวในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังไม่มีการศึกษาแหล่งพลังงานลมในภาคสนามอย่างจริงจัง นอกจากนั้นแล้วข้อมูลต้านศักยภาพพลังงานลมที่มีจะเปีนข้อมูลลมที่ใช้ในทางอุตุนิยมวิทยา ซึ่งส่วนมากจะตรวจวัดบนพื้นที่ราบ แต่ตามหลักการของการเกิดพลังงานลมแล้ว พื้นที่ที่มีศักยภาพต้องเปีนพื้นที่บริเวณสันเขาและหุบเขา ดังนั้นโครงการนี่จงได้เสนอที่จะศึกษาศักยภาพพลังงานลมในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน เพื่อที่จะสามารถนำข้อมูลที่ได้นำไปขยายผลในการผลิตไฟฟ้าต่อไป

โครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ สถานีกังหันลมผลิตไฟฟ้าสทิงพระ บ้านพังสเม็ด อ.สทิงพระ จ.สงขลา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้ดำเนินการโครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการศึกษาความเหมาะสม จัดหา และติดตั้งอุปกรณ์เครื่องวัดพลังงานลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยจากผลการศึกษาปรากฎว่า บริเวณชายหาด อ.สทิงพระ จ.สงขลา เป็นที่ที่มีศักยภาพ จึงได้ดำเนินการขอรับการสนับสนุนด้านการเงินจาก สนพ.

โครงการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าจ่ายไฟร่วมกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล เกาะเต่า จ.สุราษฎร์ธานี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันเกาะเต่า อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี มีการจ่ายไฟด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลตลอด 24 ชั่วโมง และเนื่องจากเกาะเต่าอยู่ห่างจากฝั่งประมาณ 75 กิโลเมตร การขนส่งน้ำมันดีเซลจากชายฝั่งไปสู่เกาะมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ามีค่าสูงถึงประมาณหน่วยละ 10 บาท แต่ กฟภ.

การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขนาดใหญ่ จ.ปัตตานี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น เป็นการรวบรวมและทบทวนการศึกษาข้อมูลเอกสารและรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การสำรวจข้อมูลและสังเกตการณ์เบื้องต้นบริเวณพื้นที่โครงการ การศึกษาประเมินผลตอบแทน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การประชาสัมพันธ์ การประเมินการมีส่วนร่วมของประชาชน การเสนอแนะมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลการสำรวจข้อมูลการใช้กังหันลมในประเทศไทย นับตั้งแต่ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของพลังงานลม จนไปถึงปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกังหันลมที่พบ ทัศนคติที่ประชาชนในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงมีต่อโครงการสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขนาดใหญ่ จ.ปัตตานี (

การศึกษาความเป็นไปได้และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นในการพัฒนาทุ่งกังหันลมนอกชายฝั่ง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ลมเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่สำคัญของโลก และมีเทคโนโลยีที่พร้อมใช้งาน โดยปัจจุบันประเทศต่างๆ ทำการติดตั้งกังหันลม เพื่อผลิตไฟฟ้าคิดเป็นกำลังติดตั้ง 200 GW โดยมีทั้งการติดตั้งบนบกและนอกชายฝั่ง สำหรับการติดตั้งนอกชายฝั่งปัจจุบันทั่วโลกมีการติดตั้งรวม 3,000 MW และมีแนวโน้มขยายตัวสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะการติดตั้งกังหันลมนอกชายฝั่งมีข้อดีหลายประการ เช่น บริเวณนอกชายฝั่งไม่มีสิ่งกีดขวางทางลม และมีข้อจำกัดด้านการใช้พื้นที่น้อย อีกทั้งสามารถขนส่งกังหันลมขนาดใหญ่ไปติดตั้งทางเรือได้สะดวก กรณีของประเทศไทยมีพื้นที่นอกชายฝั่ง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านอ่าวไทย และด้านทะเลอันดามัน ซึ่งยังไม่มีการศึกษาศักยภาพในการใช

Pages