ขยะ

การศึกษาและสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟ้า/ความร้อนจากขยะชุมชน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วตามการขยายตัวของเมืองและ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของประซาซน ในขณะที่หน่วยงานรับผิดชอบในการกำจัดขยะส่วน ใหญ่ยังขาดความพร้อมทั้งทางด้านงบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์บุคลากร และสถานที่ที่ใช้ในการกำจัด ขยะจึงทำให้การกำจัดขยะส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการก่อให้เกิดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประซาซน

โครงการส่งเสริมการบริการวิซาการพลังงานขยะในสถานศึกษา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากสถานการณ์พลังงานในปัจจุบันที่ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดการตื่นตัวในการหาพลังงานอื่นๆ มาใช้ทดแทนพลังงานฟอสซิลซึ่งมีปริมาณสำรองลดลง รวมถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโลกร้อนก็เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่ทำให้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานสะอาดได้รับความสนใจมากขึ้น พลังงานทดแทนจากขยะก็เป็น พลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการนำมาใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธีแล้ว ยังสามารถแปลงของเสียให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ประโยชน์อีกด้วย

โครงการพัฒนาและสาธิตถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำเร็จรูปฃนาดเล็ก

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       องค์ประกอบขยะชุมซนในประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันไปตามฤดูกาล ลักษณะทาง เศรษฐกิจและลังคม ตลอดจนแบบแผนในการบริโภคของแต่ละชุมซน/เมือง อย่างไรก็ตาม ขยะชุมซนมีองค์ประกอบซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) ขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายและมีความชื้นสูง เซ่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ใบไม้ ใบหญ้า ประมาณร้อยละ40-60 (2) ขยะที่เผาไหม้ได้ ซึ่งได้แก่ขยะอินทรีย์ ที่ย่อยสลายช้า เซ่น ไม้ยางหนัง และกระดาษ และสารอินทรีย์ลังเคราะห์เซ่นพลาสติก และโฟม ซึ่งมีอยู่ ประมาณร้อยละ 20-40 และ (3) วัสดุเฉื่อย ซึ่งก็คือส่วนที่ไม่เผาไหม้ เซ่น หิน ทราย แก้ว กระเบื้อง อีก ประมาณร้อยละ 5-20

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตขยะเชื้อเพลิง (RDF)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 40-60 เป็นขยะอินทรีย์ และขยะที่เผาไหม้ได้ ประมาณร้อยละ 20-40 และวัสดุเฉื่อยที่ไม่เผาไหม้อิกประมาณร้อยละ 5-20 ซึ่งหากมีการนำขยะอินทรีย์ไป ผลิตก๊าชชีวภาพ และนำขยะที่เผาไหม้ได้มาผลิตขยะเชื้อเพลิง ก็จะเหลือฃยะที่ต้องนำไปฝังกลบซึ่งเป็นวัสดุเฉื่อยเพียงประมาณร้อยละ 5-20 เท่านั้น

งานรณรงค์สร้างดวามเข้าใจในการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 

     ในปี 2549 การพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมซน เพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนและนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน พร้อมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะของท้องถิ่น และสร้างความเช้าใจในหลักการนำขยะอินทรีย์มาผลิตเป็นพลังงาน โดยมีต้นแบบที่สามารถปฏิบัติและใช้งานได้จริง ซึ่งได้ติดตั้งต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลตำบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร เทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเทศบาลเมืองทุ่งสง จัง

Pages