ชีวมวล

โครงการการศึกษาความเป็นไปด้านการผลิตไฟฟ้าระดับชุมชนโดยใช้ พลังงานจากไม้โตเร็ว

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

แนวทางในการลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ที่สาคัญแนวทางหนึ่งคือการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการนามาผลิตกระแสไฟฟ้า ชีวมวลจากไม้โตเร็วที่มีการจัดการปลูกเป็นสวนป่าเป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่น่าสนใจ เนื่องจากไม้เชื้อเพลิงที่ได้ปราศจากธาตุหนักที่ก่อให้เกิดมลพิษที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการแปรรูปพลังงานเป็นความร้อน นอกจากนี้การปลูกป่าเชื้อเพลิงในลักษณะหมุนเวียนจะช่วยลดปัญหาการเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกไปในตัว และสามารถใช้เป็นกิจกรรมที่เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร อย่างไรก็ตามการใช้พลังงานจากไม้โตเร็วนั้นถึงแม้จะมีข้อมูลพันธุ์ไม้โตเร็ว และข้อมูลระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากชีวมวลปรา

โครงการการศึกษามวลชีวภาพของกระถินเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานที่ยั่งยืน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยขึ้นอยูํกับน้ำมันปิโตรเลียมที่นำเข้าจากตำงประเทศ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำามันจึงมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาเหลำนี้การปลูกกระถินเพื่อใช้เป็นพืชพลังงานทดแทนจึงมีความจาเป็นยิ่ง การศึกษาวิจัยนี้ได้แบํงออกเป็น 4 สํวนด้วยกัน สํวนแรกดำเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา อำเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินและเปรียบเทียบผลผลิตสายพันธุ์กระถิน สํวนที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องการเขตกรรมของกระถินในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อคัดเลือกระบบการปลูก ระยะปลู

โครงการศึกษาต้นแบบโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กสำหรับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ด้านพลังงานของประเทศไทยในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่นำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศเป็นหลัก รัฐบาลได้มีนโยบายที่จะพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและพลังงานให้กับประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพของแหล่งเชื้อเพลิงชีวมวล หากสามารถนำพลังงานเหล่านี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะเป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนของประเทศได้

โครงการศึกษา พัฒนาระบบผลิตแก๊สชีวมวลเพื่อผลิตไฟฟ้า ในเครื่องยนต์สันดาปภายใน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงชีวมวล ส่วนใหญ่เป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงแบบสมบูรณ์ (Complete Combustion) เพื่อนำความร้อนที่เกิดชื้นใช้ในการต้มน้ำให้มีความดันและอุณหภูมิสูง ไปขับเทอร์ไบนํในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งจะพบเห็นไต้จากระบบของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก(SPP)หรือใช้เทคโนโลยีที่สามารถผลิตได้ทั้งไฟฟ้าและพลังงานความร้อน (Cogeneration System)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้น

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวจะมีวัสดุเหลือทิ้งในปริมาณค่อนข้างมาก นอกจากนี้ยังมีชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม เป็นต้น โดยปกติแล้วโรงงานอุตสาหกรรมจะใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้แก่ น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ก๊าซหุงต้ม(แอลพีจี) ถ่านหิน เนื่องจากคุณสมบัติเชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อนสูง การขนส่งเชื้อเพลิงสามารถทำได้สะดวก และราคาเชื้อเพลิงไม่สูงมากนัก แต่ในช่วงระยะเวลากว่าสิบปี ที่ผ่านมาราคาเชื้อเพลิงปิโตรเลียมได้ปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกราคาในตลาดโลก ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากปิ โตรเลียมมาใ

Pages