พลังงานทดแทน

โครงการส่งเสริมการบริการวิซาการพลังงานขยะในสถานศึกษา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากสถานการณ์พลังงานในปัจจุบันที่ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดการตื่นตัวในการหาพลังงานอื่นๆ มาใช้ทดแทนพลังงานฟอสซิลซึ่งมีปริมาณสำรองลดลง รวมถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโลกร้อนก็เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่ทำให้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานสะอาดได้รับความสนใจมากขึ้น พลังงานทดแทนจากขยะก็เป็น พลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการนำมาใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธีแล้ว ยังสามารถแปลงของเสียให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ประโยชน์อีกด้วย

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตขยะเชื้อเพลิง (RDF)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 40-60 เป็นขยะอินทรีย์ และขยะที่เผาไหม้ได้ ประมาณร้อยละ 20-40 และวัสดุเฉื่อยที่ไม่เผาไหม้อิกประมาณร้อยละ 5-20 ซึ่งหากมีการนำขยะอินทรีย์ไป ผลิตก๊าชชีวภาพ และนำขยะที่เผาไหม้ได้มาผลิตขยะเชื้อเพลิง ก็จะเหลือฃยะที่ต้องนำไปฝังกลบซึ่งเป็นวัสดุเฉื่อยเพียงประมาณร้อยละ 5-20 เท่านั้น

งานรณรงค์สร้างดวามเข้าใจในการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 

     ในปี 2549 การพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมซน เพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนและนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน พร้อมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะของท้องถิ่น และสร้างความเช้าใจในหลักการนำขยะอินทรีย์มาผลิตเป็นพลังงาน โดยมีต้นแบบที่สามารถปฏิบัติและใช้งานได้จริง ซึ่งได้ติดตั้งต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลตำบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร เทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเทศบาลเมืองทุ่งสง จัง

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนกำหนดเป้าหมายให้มีการส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 100 เมกะวัตต์ในปี 2554 รวมทั้งการนำขยะมาผลิตพลังงานในรูปความร้อนในขณะที่ขยะชุมซนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปัจจุบันมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน แต่การดำเนินการจัดเก็บและกำจัดยังประสบปัญหา โดยขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบของขยะชุมซนประมาณร้อยละ 50 เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เซ่น ปัญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้อนของน้ำขยะมูลฝอย การแพร่กระจายของเชื้อโรค และการปลดปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร้อน

โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

Pages