พลังงานทดแทน

โครงการการศึกษาความเป็นไปด้านการผลิตไฟฟ้าระดับชุมชนโดยใช้ พลังงานจากไม้โตเร็ว

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

แนวทางในการลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ที่สาคัญแนวทางหนึ่งคือการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการนามาผลิตกระแสไฟฟ้า ชีวมวลจากไม้โตเร็วที่มีการจัดการปลูกเป็นสวนป่าเป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่น่าสนใจ เนื่องจากไม้เชื้อเพลิงที่ได้ปราศจากธาตุหนักที่ก่อให้เกิดมลพิษที่จะเกิดขึ้นในกระบวนการแปรรูปพลังงานเป็นความร้อน นอกจากนี้การปลูกป่าเชื้อเพลิงในลักษณะหมุนเวียนจะช่วยลดปัญหาการเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกไปในตัว และสามารถใช้เป็นกิจกรรมที่เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร อย่างไรก็ตามการใช้พลังงานจากไม้โตเร็วนั้นถึงแม้จะมีข้อมูลพันธุ์ไม้โตเร็ว และข้อมูลระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากชีวมวลปรา

โครงการการศึกษามวลชีวภาพของกระถินเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานที่ยั่งยืน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยขึ้นอยูํกับน้ำมันปิโตรเลียมที่นำเข้าจากตำงประเทศ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำามันจึงมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาเหลำนี้การปลูกกระถินเพื่อใช้เป็นพืชพลังงานทดแทนจึงมีความจาเป็นยิ่ง การศึกษาวิจัยนี้ได้แบํงออกเป็น 4 สํวนด้วยกัน สํวนแรกดำเนินการทดลองในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา อำเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินและเปรียบเทียบผลผลิตสายพันธุ์กระถิน สํวนที่ 2 เป็นการศึกษาในเรื่องการเขตกรรมของกระถินในบริเวณสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อคัดเลือกระบบการปลูก ระยะปลู

โครงการศึกษาต้นแบบโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กสำหรับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ด้านพลังงานของประเทศไทยในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่นำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศเป็นหลัก รัฐบาลได้มีนโยบายที่จะพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและพลังงานให้กับประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพของแหล่งเชื้อเพลิงชีวมวล หากสามารถนำพลังงานเหล่านี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะเป็นแหล่งพลังงานที่ยั่งยืนของประเทศได้

โครงการการเตรียมแผ่นสองขั้วจากวัสดุผสมระหว่างกราไฟต์ผงกับ พอลิเมอร์เพื่อใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงประเภทพอลิเมอร์ อิเล็กโทรไลต์เมมเบรน (PEMFC)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

จากปัญหาที่น้ำมันมีราคาแพง การค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงจึงเป็นที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในปัจจุบัน โดยในงานวิจัยนี้จะสนใจเซลล์เชื้อเพลิงประเภท PEMFC ซึ่งมีหนึ่งในส่วนประกอบที่สำคัญคือ แผ่นสองขั้ว ซึ่งในปัจจุบันแผ่นสองขั้วมักจะทำจากกราไฟต์ ซึ่งมีราคาแพงและมีน้ำหนักสูง ดังนั้นหากสามารถวิจัยและพัฒนาสร้างแผ่นสองขั้วที่มีน้ำหนักเบา และราคาถูกได้ ก็จะทำให้น้ำหนักและราคาของเซลล์เชื้อเพลิงลดลงด้วย ซึ่งจะทำให้นำไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ได้

โครงการการปรับปรุงผิวเมมเบรนและระบบทดสอบเซลล์เชื้อเพลิงเดี่ยวแบบ เมมเบรนพอลิเมอร์อิเล็กโทรไลต์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เซลล์เชื้อเพลิงได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกสำหรับอนาคต ด้วยเหตุผลที่ว่าเซลล์เชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงานสะอาด และมีประสิทธิภาพสูงว่าเครื่องยนต์สันดาปภายใน ปัจจุบันนี้มีการพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงสำหรับใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับยานพาหนะและสำหรับเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าสำหรับครัวเรือนกันอย่างแพร่หลาย การพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงในปัจจุบันเน้นไปที่การลดต้นทุนเพื่อให้สามารถนำมาใช้เชิงพาณิชย์ได้ ซึ่งมีความเป็นไปได้สองทางคือ การลดต้นทุนการผลิต และการเพิ่มสมรรถนะของเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อให้ได้ราคาต่อกำลังไฟฟ้า (บาทต่อกิโลวัตต์) ที่ถูกลง

Pages