เอทานอล

โครงการสาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง ระยะที่ 1 (Demonstration Project of Thailand’s First Ethanol Bus : Phase I)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สำหรับประเทศไทยภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจหลักที่สำคัญที่มีการใช้พลังงานสูงสุด โดยมีสัดส่วนของการใช้พลังงานที่ใกล้เคียงกันมากกว่าร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานทั้งหมด ซึ่งพบว่าทุกภาคเศรษฐกิจ มีการใช้น้ำมันดีเซลมากกว่า 50 ล้านลิตรต่อวัน สำหรับภาคขนส่งมีการใช้ดีเซลในสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 60 ของเชื้อเพลิงทั้งหมด ซึ่งต้องนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาพลังงานทดแทนที่สามารถผลิตขึ้นได้ในประเทศอย่างเช่น “เอทานอล” โดยแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี ของกระทรวงพลังงานนั้น มีการกำหนดเป้าหมายการใช้เอทานอลถึง 9 ล้านลิตรต่อวันอย่างชัดเจน ภายในปีพ.ศ.

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสเชิงพาณิชย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เซลลูโลส เป็นแหล่งวัตถุดิบที่ได้รับความสนใจจากนักวิทยาศาสตร์ในการนำมาผลิตเอทานอลเป็นอย่างมาก โดยเอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสเป็นเอทานอลที่ผลิตจากวัตถุดิบหลักประเภทฟางข้าว กากอ้อย ซังข้าวโพด และเปลือกไม้ รวมทั้งวัชพืช เช่น ผักตบชวา หญ้า และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เหง้ามันสำปะหลัง เป็นต้น เนื่องจากในวัตถุดิบดังกล่าวจะประกอบด้วยลิกโนเซลลูโลส (Lignocellulosic Material) ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทคาร์โบไฮเดรตที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์พืช ที่เกิดขึ้นจากหน่วยย่อยของน้ำตาลกลูโคสเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวหรือที่เรียกว่าโพลีเมอร์ของน้ำตาลกลูโคส ทำให้เอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสมีสมบัติและลักษณะ

โครงการลดต้นทุนการผลิตเอทานอลในโรงงานผลิตเอทานอลเชิงพาณิชย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันการผลิตเอทานอลมีราคาสูงส่งผลให้ราคาน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ ที่รัฐบาลส่งเสริมให้ใช้มีราคาเพิ่มขึ้นไปด้วย ดังนั้นหากสามารถลดต้นทุนการผลิตเอทานอลได้ ก็อาจจะ
เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้ราคาน้ำมันแก๊สโซฮอล์ลดลง ราคาเอทานอลประกอบด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น
ค่าลงทุนเบื้องต้น (ค่าที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง) ค่าสารเคมี ค่าพลังงานในกระบวนการผลิตและสาธารณูปโภค

Pages