โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาด้านเทคนิค

โครงการพัฒนาฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์และระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 1 ระบบ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เป็นการปรับปรุงการเชื่อมโยงข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ให้สามารถแสดงผลได้ต่อเนื่อง ถูกต้อง และรวดเร็ว และพัฒนาระบบฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของ พพ. รวมถึงประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทยให้มีความหลากหลาย

โครงการศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่ในการบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อให้ทราบศักยาพที่แท้จริงสำหรับใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบบการจัดตั้งโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ (solar farm) และ การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาอาคาร (solar roof-top)

โครงการศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่ในการบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากการส่งเสริมและการเติบโตด้านการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องในประเทศไทย มีประเด็นสำคัญที่ต้องคำนึงถึงอย่างยิ่งคือ “ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม” ที่อาจจะเกิดขึ้นจากกากขยะ ที่เกิดจากโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เช่น แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่หมดอายุการใช้งานหรือเสื่อมสภาพ เพื่อให้การส่งเสริมด้านการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยเกิดความยั่งยืน และสอดรับกับร่างแผนแม่บทการบริหารจัดการกากขยะผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิคส์: กากขยะเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้จัดทำขึ้นด้านยุทศาสตร์การบริหารจัดการกากขยะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ระบุถึงมาตรการในการจัดตั

โครงการศึกษาและส่งเสริมการใช้ระบบผลิตพลังงานความร้อน ด้วยก๊าชชีวมวลสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

จากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ที่ผ่านมา พบว่า แนวทางหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลสำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม คือ เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวมวล (Gasification) โดยใช้ชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เป็นวัตลุดิบ ภายหลังจากการทำปฎิกริยาจะได้ก๊าซที่มีค่าความร้อนสูง เหมาะสมต่อการใช้ทดแทน เชื้อเพลิงฟอสซิล สามารถนำไปใช้เพื่อผลิตพลังงานความร้อนในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมได้โดยทำการปรับแต่งอุปกรณ์เพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ตามโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กมีรูปแบบการใช้พลังงานที่แตกต่างกันหลากหลายแบบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องทำการศ

โครงการพัฒนาและสาธิตระบบผลิตพลังงานจากชีวมวลระดับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตของประเทศส่วนใหญ่ได้จากภาคการเกษตร เช่น ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง เป็นด้น ดังนั้น จึงมีเศษวัสดุเหลือใช้หรือชีวมวลเกิดขึ้นหลังการเก็บ เกี่ยวเป็นจำนวนมาก ซึ่งจากการศึกษาของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ในปี พ.ศ. 2546 พบว่าประเทศไทยมีการเพาะปลูกข้าวได้ผลผลิตรวมประมาณ 36,507,164 ตัน และมี เศษวัสดุเหลือใช้เกิดขึ้น ได้แก่ แกลบและฟางข้าว โดยแกลบมีปริมาณรวม 8,250,000 ตัน และจาก การวิเคราะห์คุณสมบัติ พบว่าแกลบมีค่าความร้อนประมาณ 14.40 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ซึ่งมีความ เหมาะสมที่จะสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้าได้

Pages