โครงการสาธิต นำร่อง

โครงการพัฒนาและสาธิตถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำเร็จรูปฃนาดเล็ก

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       องค์ประกอบขยะชุมซนในประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงและแตกต่างกันไปตามฤดูกาล ลักษณะทาง เศรษฐกิจและลังคม ตลอดจนแบบแผนในการบริโภคของแต่ละชุมซน/เมือง อย่างไรก็ตาม ขยะชุมซนมีองค์ประกอบซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) ขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายและมีความชื้นสูง เซ่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ใบไม้ ใบหญ้า ประมาณร้อยละ40-60 (2) ขยะที่เผาไหม้ได้ ซึ่งได้แก่ขยะอินทรีย์ ที่ย่อยสลายช้า เซ่น ไม้ยางหนัง และกระดาษ และสารอินทรีย์ลังเคราะห์เซ่นพลาสติก และโฟม ซึ่งมีอยู่ ประมาณร้อยละ 20-40 และ (3) วัสดุเฉื่อย ซึ่งก็คือส่วนที่ไม่เผาไหม้ เซ่น หิน ทราย แก้ว กระเบื้อง อีก ประมาณร้อยละ 5-20

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนกำหนดเป้าหมายให้มีการส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 100 เมกะวัตต์ในปี 2554 รวมทั้งการนำขยะมาผลิตพลังงานในรูปความร้อนในขณะที่ขยะชุมซนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปัจจุบันมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน แต่การดำเนินการจัดเก็บและกำจัดยังประสบปัญหา โดยขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบของขยะชุมซนประมาณร้อยละ 50 เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เซ่น ปัญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้อนของน้ำขยะมูลฝอย การแพร่กระจายของเชื้อโรค และการปลดปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร้อน

โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การรณรงค์สร้างความเข้าใจเพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
      พลังงานจากขยะ เป็นพลังงานทดแทนอย่างหนึ่งที่มีความเป็นไปได้ในการผลิตไฟฟ้า จากการที่ปริมาณขยะชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของชุมชน การนำขยะซึ่งมีเป็นจำนวนมากมาผลิตไฟฟ้า จึงเป็นประโยชน์ทั้งในการผลิตพลังงานทดแทนและยังเป็นการจัดการของเสียที่ถูกวิธีอีกด้วย

การพัฒนาระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
       ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 50 เป็นขยะอินทรีย์ ซึ่งปัจจุบันยังจัดการไม่ถูก สุขลักษณะ เช่น กองทิ้งกลางแจ้ง ฝังกลบอย่างไม่ถูกต้อง ทำให้ขยะอินทรีย์นี้เป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม อย่างรุนแรง หากสามารถแยกขยะอินทรีย์นำมาหมักระบบไร้ออกซิเจนเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ก็สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นพลังงานความร้อนหรือผลิตกระแสไฟฟ้าไต้

Pages