โครงการสาธิต นำร่อง

โครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐ (นอกข่ายควบคุม)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐนอกข่ายควบคุม (อาคารที่ติดตั้งหม้อแปลงต่ำกว่า ๑,๑๗๕ กิโลโวลท์แอมแปร์) โดยเริ่มดำเนินการในอาคารประเภทสำนักงานและโรงพยาบาลทั่วประเทศ จำนวน ๕๐ แห่ง

โครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน(โครงการความร่วมมือด้านพลังานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและลาวค่าว่าจ้างที่ปรึกษาจัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงาน)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เพี่อดำเนินการดามคำแถลงร่วมและบ้นฑีกความเข้าใจด้งกล่าว กระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.) รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตักรอบความร่วมมีอ ACMECS โดยเฉพาะในเรื่องการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทยสู่ สปป.ลาวผ่านทางการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วย
1) การศึกษาสถานภาพการใช้พลังงาน และศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานเพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดทำนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานในระดับประเทศ

โครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

พพ. ได้ส่งเสริมให้อาจารย์ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้รับการพัฒนาทักษะและปนระสบการณ์ในการจัดทำมาตรการอนุรักษ์พลังงานมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดเครือข่ายการอนุรักษ์พลังงาน โดยมีบุคลากรซึ่งเป็นอาจารย์ในสังกัด สอศ. ที่จะได้รับการพัฒนาจัดตั้งขึ้นเป็นทีมเทคนิค จำนวนไม่น้อยกว่า 50 ทีม และส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาแกนนำด้านการอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 5 แห่งทั่วประเทศ อีกทั้งยังมีการขยายสู่สถาบันอาชีวศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนอีก 450 แห่งทั่วประเทศ

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสเชิงพาณิชย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เซลลูโลส เป็นแหล่งวัตถุดิบที่ได้รับความสนใจจากนักวิทยาศาสตร์ในการนำมาผลิตเอทานอลเป็นอย่างมาก โดยเอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสเป็นเอทานอลที่ผลิตจากวัตถุดิบหลักประเภทฟางข้าว กากอ้อย ซังข้าวโพด และเปลือกไม้ รวมทั้งวัชพืช เช่น ผักตบชวา หญ้า และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เหง้ามันสำปะหลัง เป็นต้น เนื่องจากในวัตถุดิบดังกล่าวจะประกอบด้วยลิกโนเซลลูโลส (Lignocellulosic Material) ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทคาร์โบไฮเดรตที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์พืช ที่เกิดขึ้นจากหน่วยย่อยของน้ำตาลกลูโคสเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวหรือที่เรียกว่าโพลีเมอร์ของน้ำตาลกลูโคส ทำให้เอทานอลที่ผลิตจากเซลลูโลสมีสมบัติและลักษณะ

โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซลชุมชนในปัจจุบัน หลังจากที่มีการแยกกลีเชอรีนจากไบโอดีเซลแล้วจะทำไบโอดีเซลให้ฆริสุทธิ้ด้วยการล้างนั้าเปล่า 3-4 ครั้ง ส่งผลให้เกิดนํ้าเสียขื้น นอกจากนั้นการล้างนํ้าแต่ละครั้งจะใช้เวลานานเพื่อให้เกิดการแยกตัวระหว่างนั้าล้างกับไบโอดีเซล และสุดท้ายต้องมีการกำจัดน้ำในไบโอดีเซล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้นํ้าล้างไบโอดีเซลจะหมดไปถ้าเปลี่ยนเทคนิคมาใช้สารดูดซับแทนการใช้สารดูดซับจะช่วยให้ไม่มีนั้าเสียจากการล้าง ไบโอดีเซลไม่ต้องให้ความร้อนเพื่อกำจัดนั้าที่ตกค้างอีกทั้งยังประหยัดเวลาในการผลิต การเพาะปลูกสบู่ดำ ซงเป็นฟืชนํ้ามันที่สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การเปรยบเ

Pages