โครงการสาธิต นำร่อง

การนำร่องการจัดการขยะชุมชนกรณีศึกษา เทศบาลตำบลในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ (ปีที่ 2)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยการนำร่องการจัดการขยะชุมชน กรณีศึกษา : เทศบาลตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ (ปีที่ 2) เป็นงานวิจัยที่บูรณาการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอย และศึกษาออกแบบด้านเทคนิคในพื้นที่ฝังกลบเดิมเพื่อการกำจัดขยะอย่างมีประสิทธิภาพ

การจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาอย่างครบวงจรและเหมาะสม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อประเมินศักยภาพในการนำขยะย่อยสลายได้กลับมาใช้ประโยชน์ในรูปของการทำปุ๋ยหมักหรือเป็นแหล่งพลังงาน และ (2) เพื่อประเมินความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินโครงการธนาคารวัสดุรีไซเคิลภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งผลที่ได้รับจากการศึกษาสามารถนำไปกำหนดรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อการจัดการขยะที่ย่อยสลายได้และขยะรีไซเคิลภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาในระยะยาว

โครงการสาธิตการเปลี่ยนขยะในมหาวิทยาลัยเป็นพลังงานในรูปความร้อน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่มีปัญหาขยะที่เกิดขึ้นภายในมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ซึ่งมีหอพักนักศึกษาอยู่ในเขตพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีปริมาณขยะเกิดขึ้นประมาณ 8 - 10 ตันต่อวัน โดยมีวิธีการจัดการขยะในปัจจุบัน คือ การจ้างเหมาบริษัทเอกชนขนขยะไปทิ้งในหลุมฝังกลบที่อยู่ในพื้นที่อื่น ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการจัดการขยะในมหาวิทยาลัยดังกล่าว โดยการจัดการที่เหมาะสมควรมุ่งเน้นที่การลดปริมาณขยะด้วยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นเทคโนโลยีที่มหาวิทยาลัย

โครงการนำร่องการจัดการขยะระดับองค์การบริหารส่วนตำบล

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ขยะมูลฝอยชุมชนเป็นสิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและการบริโภคของมนุษย์ ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและการขาดการจัดการอย่างมีระบบก่อให้เกิดปัญหาอย่างมาก ปัญหาจากขยะชุมชนนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นพร้อมๆ กับการขยายตัวของเมืองและประชากร ในอดีตขยะมีปริมาณไม่มากนัก และส่วนใหญ่เป็นวัสดุธรรมชาติจึงใช้วิธีการจัดการโดยวิธีกองทิ้งหรือฝังกลบ ซึ่งเป็นวิธีการจัดการที่ไม่ถูกสุขลักษณะ แต่ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เพิ่มความสะดวกสบายในการบริโภค ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นแล้วขยะชุมชนยังมีองค์ประกอบที่ซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียตามมา คือ ของเสียที่ผลิตออกมาไม่สามา

แผนการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสมของชุมชน: กรณีศึกษาพื้นที่กำจัดขยะ ใน อบต.ในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การกำจัดขยะมูลฝอยในเขต อบต.ในเมือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ เป็นการกำจัดขยะแบบเทกองกลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการกำจัดที่ไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและอยู่ใกล้กับแหล่งชุมชน ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนใกล้เคียง

Pages