โครงการส่งเสริม สนับสนุนเพื่อให้เกิดการดำเนินการเชิงพาณิชย์

โครงการศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมการใซ้ซีวมวลแบบผลิตพลังงานความร้อนตามแผนพัฒนาพลังงานทตแทน 15 ปี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เนื่องด้วยประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตส่วนใหญ่จึงได้จากการเกษตรเป็นสำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์มนํ้ามัน เป็นด้น ซึ่งภายหลังจากการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปพืซผล ทางการเกษตรจะมีชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือทิ้งอยู่บริเวณพื้นที่เพาะปลูก หรือบริเวณสถานที่แปรรูปพืชผล การเกษตรเป็นจำนวนมาก เช่น กากอ้อย แกลบ กากใยปาล์ม ซังข้าวโพด และเศษไม้ เป็นด้น ซึ่งวัสดุ เหลือทิ้งดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นเชื้อเพลิงที่ดี ประกอบกับราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ในปัจจุบัน ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้าหลายแหล่งได้นำเอาวัสดุเหลือทิ้งหรือชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเสร

การศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนแบบครบวงจร

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ในปัจจุบันการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลขนาดใหญ่ ประสบกับปัญหาอุปสรรค อยู่หลายประการ ทั้งข้อจำกัดในด้านศักยภาพชีวมวลในพื้นที่ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ ตลอดจนปัญหาการต่อด้านของชุมชนในพื้นที่รอบโครงการ ซึ่งปัญหาประการหลังนี้เป็นผลมาจาก ผู้พัฒนาโครงการละเลยการชี้แจงและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลให้แก่ ชุมชนในพื้นที่ ประกอบกับเคร่งครัดในการดำเนินการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้าให้ เป็นไปตามมาตรฐานที่ภาครัฐกำหนด โดยที่โครงการโรงฟ้าชีวมวลที่มีขนาดใหญ่บางแห่งมีกำลัง การผลิตไม่สอดคล้องกับศักยภาพของชีวมวลและฐานทรัพยากรในท้องถิ่นรวมไปถึง

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การติดตามประเมินผลระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนกำหนดเป้าหมายให้มีการส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 100 เมกะวัตต์ในปี 2554 รวมทั้งการนำขยะมาผลิตพลังงานในรูปความร้อนในขณะที่ขยะชุมซนที่เกิดขึ้นทั่วประเทศปัจจุบันมีมากกว่า 40,000 ตันต่อวัน แต่การดำเนินการจัดเก็บและกำจัดยังประสบปัญหา โดยขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียง่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบของขยะชุมซนประมาณร้อยละ 50 เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม เซ่น ปัญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้อนของน้ำขยะมูลฝอย การแพร่กระจายของเชื้อโรค และการปลดปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาโลกร้อน

โครงการส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียน กทม.

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

         ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขื่น 14.3 ล้านตัน หรือวันละ 39.221 ตัน ขยะมูลฝอยเหล่านี้เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8.291 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21 ของ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ โดยในส่วนของการกำจัดขยะมูลฝอยนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ขยะส่วนใหญ่จะนำไปกำจัดโดยการฝังกลบ และมีบางส่วนที่ นำไปใช้ทำปุยโดยการหมักแบบใช้อากาศ

การพัฒนาระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
       ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 50 เป็นขยะอินทรีย์ ซึ่งปัจจุบันยังจัดการไม่ถูก สุขลักษณะ เช่น กองทิ้งกลางแจ้ง ฝังกลบอย่างไม่ถูกต้อง ทำให้ขยะอินทรีย์นี้เป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม อย่างรุนแรง หากสามารถแยกขยะอินทรีย์นำมาหมักระบบไร้ออกซิเจนเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ก็สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นพลังงานความร้อนหรือผลิตกระแสไฟฟ้าไต้

Pages