โครงการประชาสัมพันธ์

โครงการประชาสัมพันธ์และสนับสนุนเครือข่ายด้านพลังงานชีวมวลและถ่านหินสะอาด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

      ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศ ให้ได้ร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2565 และจัดทำเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม พลังงานทดแทน ประกอบด้วยการผลิตพลังงานความร้อน ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยกำหนด เป้าหมายให้มีการผลิตพลังงานความร้อน เป็นปริมาณรวมปีละ ๆ 7,433 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ พลังงานไฟฟ้าติดตั้งรวม 5,608 เมกะวัตต์ และการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพได้แก่ เอทานอลวันละ 9 ล้านลิตร และไบโอดีเซลวันละ 45 ล้านลิตร โดยเฉพาะวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือชีวมวล ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงที่สุดของประเทศ ดังนั้นรัฐจะต้องดำเนินการส่งเสริมให้มี

การศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนแบบครบวงจร

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       ในปัจจุบันการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลขนาดใหญ่ ประสบกับปัญหาอุปสรรค อยู่หลายประการ ทั้งข้อจำกัดในด้านศักยภาพชีวมวลในพื้นที่ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ ตลอดจนปัญหาการต่อด้านของชุมชนในพื้นที่รอบโครงการ ซึ่งปัญหาประการหลังนี้เป็นผลมาจาก ผู้พัฒนาโครงการละเลยการชี้แจงและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลให้แก่ ชุมชนในพื้นที่ ประกอบกับเคร่งครัดในการดำเนินการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้าให้ เป็นไปตามมาตรฐานที่ภาครัฐกำหนด โดยที่โครงการโรงฟ้าชีวมวลที่มีขนาดใหญ่บางแห่งมีกำลัง การผลิตไม่สอดคล้องกับศักยภาพของชีวมวลและฐานทรัพยากรในท้องถิ่นรวมไปถึง

โครงการส่งเสริมการบริการวิซาการพลังงานขยะในสถานศึกษา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

       จากสถานการณ์พลังงานในปัจจุบันที่ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดการตื่นตัวในการหาพลังงานอื่นๆ มาใช้ทดแทนพลังงานฟอสซิลซึ่งมีปริมาณสำรองลดลง รวมถึงผลกระทบจากปัญหาภาวะโลกร้อนก็เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่ทำให้พลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานสะอาดได้รับความสนใจมากขึ้น พลังงานทดแทนจากขยะก็เป็น พลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการนำมาใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธีแล้ว ยังสามารถแปลงของเสียให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ประโยชน์อีกด้วย

งานรณรงค์สร้างดวามเข้าใจในการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 

     ในปี 2549 การพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมซน เพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนและนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน พร้อมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะของท้องถิ่น และสร้างความเช้าใจในหลักการนำขยะอินทรีย์มาผลิตเป็นพลังงาน โดยมีต้นแบบที่สามารถปฏิบัติและใช้งานได้จริง ซึ่งได้ติดตั้งต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลตำบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร เทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเทศบาลเมืองทุ่งสง จัง