โครงการในรูปแบบอื่นๆ

โครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน(โครงการความร่วมมือด้านพลังานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและลาวค่าว่าจ้างที่ปรึกษาจัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงาน)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เพี่อดำเนินการดามคำแถลงร่วมและบ้นฑีกความเข้าใจด้งกล่าว กระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.) รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตักรอบความร่วมมีอ ACMECS โดยเฉพาะในเรื่องการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทยสู่ สปป.ลาวผ่านทางการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วย
1) การศึกษาสถานภาพการใช้พลังงาน และศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานเพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดทำนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานในระดับประเทศ

โครงการพัฒนาประเมินผลและเสนอแนะด้านบริหารจัดการ โครงการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานด้วยไบโอดีเซลฃชุมชน (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่รัฐบาลได้มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลจากปาล์มและแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 และวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ตามลําดับ ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงพลังงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ โดยกระทรวงพลังงาน ได้แบ่งการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การพัฒนาไบโอดีเซลในระดับชุมชน และการพัฒนาไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผลิตและใช้ไบโอดีเซล (B100) 3.02 ล้านลิตร/วัน ในปี พ.ศ.2554

การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขนาดใหญ่ จ.ปัตตานี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น เป็นการรวบรวมและทบทวนการศึกษาข้อมูลเอกสารและรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การสำรวจข้อมูลและสังเกตการณ์เบื้องต้นบริเวณพื้นที่โครงการ การศึกษาประเมินผลตอบแทน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การประชาสัมพันธ์ การประเมินการมีส่วนร่วมของประชาชน การเสนอแนะมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลการสำรวจข้อมูลการใช้กังหันลมในประเทศไทย นับตั้งแต่ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของพลังงานลม จนไปถึงปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกังหันลมที่พบ ทัศนคติที่ประชาชนในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงมีต่อโครงการสาธิตการผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมขนาดใหญ่ จ.ปัตตานี (

การพัฒนาระบบติดตามข้อมูลการใช้ชีวมวลในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

ปีดำเนินโครงการ: 

 นับวันการใช้พลังงานสำหรับอุตสาหกรรมต่างๆทั่วโลกนั้นมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันประเทศไทยต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศทั้งในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง และถ่านหิน ทั้งๆที่ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรมากกว่าร้อยละ 50 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลพลอยได้ที่สำคัญนอกเหนือจากผลผลิตการเกษตรก็คือ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว แกลบ กากอ้อย กาก ใย ทะลายปาล์ม และผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆอีกเป็นจำนวนมาก ทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพสูงในการใช้เชื้อเพลิง ชีวมวลในอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า สาเหตุที่เรายังไม่สามารถใช้ศักยภาพดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ นอกเหนือจากการขาดการค้นคว้าและวิ

ติดตามประเมินผลการดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมพลังงานลม

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาและส่งเสริมพลังงานลม เป็นการรวบรวม ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีส่วนได้ส่วนเสียและเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสาธิตและส่งเสริมพลังงานลมของประเทศไทย โดยการรวบรวมจากการจัดประชุมภายในโครงการ รวมทั้งผลการสำรวจข้อมูลการใช้กังหันลมที่ผ่านมาในพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อรวบรวมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาการใช้กังหันลมในประเทศไทย นับตั้งแต่ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของพลังงานลม จนไปถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกังหันลม ที่พบในหน้างาน ทัศนมิติที่ประชาชนทั่วไปมีต่อการใช้พลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือก

Pages