บริษัท ฟรอนเทียร์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแทนท์ จำกัด

โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ำมันที่สหกรณ์ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 

ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี (2551-2565) ขึ้น โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเป็นร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศภายในปี 2565 ซึ่งการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่งก็เป็นส่วนหนึ่งของแผนดังกล่าวด้วย ที่ผ่านมากระทรวงพลังงานได้ดำเนินการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพตามแผน โดยการบูรณาการกับหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เป็นต้น โดย กษ.

โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ำมันที่สหกรณ์ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี (2551-2565) ขึ้น โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเป็นร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศภายในปี 2565 ซึ่งการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่งก็เป็นส่วนหนึ่งของแผนดังกล่าวด้วย ที่ผ่านมากระทรวงพลังงานได้ดำเนินการส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพตามแผน โดยการบูรณาการกับหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เป็นต้น โดย กษ.

โครงการพัฒนาประเมินผลและเสนอแนะด้านบริหารจัดการ โครงการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานด้วยไบโอดีเซลฃชุมชน (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่รัฐบาลได้มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลจากปาล์มและแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 และวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ตามลําดับ ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงพลังงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ โดยกระทรวงพลังงาน ได้แบ่งการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การพัฒนาไบโอดีเซลในระดับชุมชน และการพัฒนาไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผลิตและใช้ไบโอดีเซล (B100) 3.02 ล้านลิตร/วัน ในปี พ.ศ.2554

ศึกษาความเหมาะสมและศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กแม่ออบ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการใช้ถังหมักก๊าซชีวภาพในโรงเรียนสังกัด กทม

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

สืบเนื่องมาจากการดำเนินการพัฒนาและติดตั้งถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในโรงเรียน สังกัดกทม จำนวน 40 แห่ง ในปี 2549 และในปี 2550 มีการทำความร่วมมือกันระหว่าง กทม กับ กระทรวงพลังงาน ในด้านการอนุรักษืพลังงานและพลังงานทดแทน โดย พพ. ได้มีการให้การสนับสนุนทางวิชาการ ให้ความรู้คำแนะนำ ในการดำเนินงานและดูแลรักษาระบบถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ โดยพพ.