2553

โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปี 2553

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

            ปัจจุบันมีกิจกรรมหลายประเภทที่จำเป็นต้องใช้น้ำร้อน  เช่น  โรงพยาบาล  โรงแรม  ร้านอาหาร  ร้านเสริมสวย  เป็นต้น  โดยการผลิตน้ำร้อนได้มีการใช้พลังงานหลายรูปแบบ  ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้มโดยใช้พลังงานจากก๊าซและไฟฟ้า หรือหากเป็นกิจกรรมขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม ( Boiler) ที่ใช้น้ำมันเตา หรือน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง

โครงการประชาสัมพันธ์และสนับสนุนเครือข่ายด้านพลังงานชีวมวลและถ่านหินสะอาด

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

      ตามที่กระทรวงพลังงานได้กำหนดนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศ ให้ได้ร้อยละ 20 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2565 และจัดทำเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม พลังงานทดแทน ประกอบด้วยการผลิตพลังงานความร้อน ไฟฟ้า และเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยกำหนด เป้าหมายให้มีการผลิตพลังงานความร้อน เป็นปริมาณรวมปีละ ๆ 7,433 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ พลังงานไฟฟ้าติดตั้งรวม 5,608 เมกะวัตต์ และการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพได้แก่ เอทานอลวันละ 9 ล้านลิตร และไบโอดีเซลวันละ 45 ล้านลิตร โดยเฉพาะวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือชีวมวล ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงที่สุดของประเทศ ดังนั้นรัฐจะต้องดำเนินการส่งเสริมให้มี

โครงการศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมการใซ้ซีวมวลแบบผลิตพลังงานความร้อนตามแผนพัฒนาพลังงานทตแทน 15 ปี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เนื่องด้วยประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตส่วนใหญ่จึงได้จากการเกษตรเป็นสำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์มนํ้ามัน เป็นด้น ซึ่งภายหลังจากการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปพืซผล ทางการเกษตรจะมีชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือทิ้งอยู่บริเวณพื้นที่เพาะปลูก หรือบริเวณสถานที่แปรรูปพืชผล การเกษตรเป็นจำนวนมาก เช่น กากอ้อย แกลบ กากใยปาล์ม ซังข้าวโพด และเศษไม้ เป็นด้น ซึ่งวัสดุ เหลือทิ้งดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นเชื้อเพลิงที่ดี ประกอบกับราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ในปัจจุบัน ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้าหลายแหล่งได้นำเอาวัสดุเหลือทิ้งหรือชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเสร

งานรณรงค์สร้างดวามเข้าใจในการนำขยะมาผลิตพลังงาน

ปีดำเนินโครงการ: 

     ในปี 2549 การพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เริ่มดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะในระดับชุมซน เพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนและนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทน พร้อมทั้งสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาขยะของท้องถิ่น และสร้างความเช้าใจในหลักการนำขยะอินทรีย์มาผลิตเป็นพลังงาน โดยมีต้นแบบที่สามารถปฏิบัติและใช้งานได้จริง ซึ่งได้ติดตั้งต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลตำบลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร เทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเทศบาลเมืองทุ่งสง จัง

การศึกษาศักยภาพพลังงานลมสำหรับการผลิตไฟฟ้าใบเขตภาคกลางของประเทศไทย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เนื่องจากนโยบายการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศโดยให้มีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมให้ได้มากถึง 800-1200 MW ภายในปี พ.ศ.

Pages