มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โครงการต้นแบบเซลล์เชื้อเพลิงแถวกำลังไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการพัฒนาต้นแบบเซลล์เชื้อเพลิงแถวชนิดเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนใช้งานผลิตไฟฟ้าโดยมีเป้าหมายกำลัง 1 กิโลวัตต์ การศึกษานี้เริ่มพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงเดี่ยวพื้นที่หน้าตัดกัมมันต์ 150 ตร. ซม.

โครงการวิจัย สาธิต สนับสนุนระบบผลิตพลังงานจากชีวมวลแบบ Three Stages Gasifier

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตของประเทศส่วนใหญ่ได้จากภาคการเกษตรเป็นสำคัญ เช่น ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง เป็นต้น ดังนั้นจึงมีเศษวัสดุเหลือใช้หรือชีวมวลเกิดขึ้นหลังการเก็บเกี่ยวเป็นจำนวนมาก ซึ่งจากการศึกษาและประเมินการศึกษาและประเมินศักยภาพชีวมวลของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ในปี 2549 พบว่าประเทศไทยมีการเพาะปลูกข้าวได้ผลผลิตรวม 30 ล้านตัน และมีเศษวัสดุเหลือใช้เกิดขึ้น ได้แก่ แกลบและฟางข้าว จากการประเมินศักยภาพชีวมวลของแกลบรวม 6,400,000 ตัน และจากการวิเคราะห์คุณสมบัติของแกลบ พบว่ามีค่าความร้อนประมาณ 14.40 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ซึ่งมีความเหมาะสมในการนำเป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟ

การผลิตไบโอไฮโดรเจนด้วยกระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอนํ้าจาก นํ้ามันชีวภาพที่ได้จากต้นสบู่ดำด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา Ni บนตัวรองรับ CeCO2 ขนาดนาโนเมตร

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจสำหรับการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ปลอดภัย

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจสําหรับการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ปลอดภัย เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการให้กับเจ้าหน้าที่ดูแลระบบผลิตก๊าซชีวภาพในการประเมินความเสี่ยงในแต่ละจุดของระบบผลิตก๊าซชีวภาพของตนเอง และพร้อมที่จะบรรเทาและระงับอุบัติเหตุเบื้องต้นที่เกิดขึ้นจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพอย่างถูกต้องตามหลักการ เกิดความรู้ความเข้าใจวิธีปฏิบัติ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ประกอบการที่มีระบบฯและใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพอยู่ โดยมีการจัดทําคู่มือการประเมินความเสี่ยงอันตรายจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ และคู่มือการระงับอุบัติเหตุที่เกิดจากระบบผลิตก๊าซชีวภาพ โดยสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางประกอบการป้องกันและบรรเทาเหตุ ลดความสู

Pages