มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โครงการการพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ข้าวฟ่างหวานเป็นพืชที่มีศักยภาพในการใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเอทานอลเชื้อเพลิงเพราะในน้ำคั้นลำต้นมีปริมาณน้ำตาลสูงใกล้เคียงกับอ้อย และเป็นน้ำตาลที่ยีสต์สามารถนำไปใช้และเปลี่ยนเป็นเอทานอลได้โดยตรง นอกจากนี้ยังเป็นพืชอายุสั้นสามารถเก็บเกี่ยวได้ใน 100 – 120 วัน ความสามารถในการเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นเอทานอลขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น สายพันธุ์ยีสต์ กระบวนการหมัก และความเข้มข้นของน้ำตาลเริ่มต้น เป็นต้น งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากระบวนการหมักเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน โดยยีสต์ Saccharomyces cerevisiae NP 01 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลโดยกระบวนการหม

โครงการการศึกษาการผลิตแก่นตะวันเพื่อการผลิตเอทานอล

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ความต้องการใช้พลังงานมีมากขึ้น แหล่งพลังงานมีอยู่อย่างจากัด จึงมีความพยายามหาแหล่งพลังงานใหม่ ๆ เพื่อสนองความต้องการ พลังงานชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานหนึ่งที่ได้รับความสนใจทั้ง ไบโอดีเซล และแก๊สโซฮอล์ แก๊สโซฮอล์ซึ่งได้จากการนาเอทานอลมาผสมกับน้ามันเบนซิน ในประเทศไทย วัตถุดิบที่สำคัญสาหรับการผลิตเอทานอล คือ อ้อย และมันสาปะหลัง ซึ่งพืชทั้งสองนี้เป็นวัตถุดิบสำคัญของอุตสาหกรรมแป้งและน้าตาล ทำให้วัตถุดิบไม่เพียงพอกับความต้องการจึงมีความพยายามหาวัตถุดิบใหม่ ๆ เพื่อจะนำมาใช้ผลิตเอทานอล แก่นตะวันเป็นพืชหนึ่งที่อยู่ในความสนใจที่จะนำมาใช้ผลิตเอทานอล เพราะมีอายุสั้นเพียง 120 วัน และมีศักยภาพในการให้ผลผลิตส

โครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐ (นอกข่ายควบคุม)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐนอกข่ายควบคุม (อาคารที่ติดตั้งหม้อแปลงต่ำกว่า ๑,๑๗๕ กิโลโวลท์แอมแปร์) โดยเริ่มดำเนินการในอาคารประเภทสำนักงานและโรงพยาบาลทั่วประเทศ จำนวน ๕๐ แห่ง

โครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน(โครงการความร่วมมือด้านพลังานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและลาวค่าว่าจ้างที่ปรึกษาจัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงาน)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

เพี่อดำเนินการดามคำแถลงร่วมและบ้นฑีกความเข้าใจด้งกล่าว กระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.) รับผิดชอบในการดำเนินงานโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตักรอบความร่วมมีอ ACMECS โดยเฉพาะในเรื่องการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทยสู่ สปป.ลาวผ่านทางการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วย
1) การศึกษาสถานภาพการใช้พลังงาน และศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานเพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดทำนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานในระดับประเทศ

ศีกษาการใช้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานในเครื่องผลิตปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ด

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จัดทำโครงการศึกษาการใช้ก๊าซชีวภาพเป็พลังงานในเครื่องผลิตปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ด เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตก๊าซชีวภาพที่สามารถดำเนินการได้อย่างเหมาะสมและมีความคุ้มค่าในการลงทุน โดยทีมนักวิจัยและวิศวกรของคนไทย เพื่อนำกากตะกอนไปใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่า และใช้ก๊าซชีวภาพพลังงานทดแทนอย่างเต็มที่ และรักษาสิ่งแวดล้อม เนื่องจากจะสามารถลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่บรรยากาศ

Pages