มหาวิทยาลัยนเรศวร

โครงการศึกษาศักยภาพการผลิตและการใช้ระบบทำความเย็นด้วยพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ระบบทำความเย็นพลังงานแสงอาทิตย์เป็นการนำความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ได้รับในช่วงกลางวันมาใช้เป็นแหล่งพลังงานเพื่อทำให้เกิดความเย็นขึ้นในอาคารได้ซึ่งผลที่ได้รับ คือ เมื่อแสงอาทิตย์มีความร้อนมากที่สุดก็ยิ่งส่งผลให้สามารถผลิตความเย็นได้สูงสุดเช่นกัน เนื่องจากความต้องการใช้ระบบทำความเย็นจะเพิ่มขึ้น และลดลงอย่างเป็นสัดส่วนที่สัมพันธ์กับปริมาณพลังงานแสงอาทิตย์ที่ได้รับนั่นเอง การศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบทำความเย็นด้วยพลังงานแสงอาทิตย็ได้มีการดำเนินการมานานแล้วในกลุ่มประเทศยุโรป และสหรัฐอเมริกา และในปัจจุบันเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจมากขึ้นและมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย็ได้แล้ว ทั้งในประเทศ อิสรา

การศึกษาเซิงลึกและประซาสัมพันธ์พื้นที่ที่มีศักยภาพผลิตไฟฟ้าพลังนํ้าฃนาดเล็กในลุ่มน้ำยม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การวิจัยและพัฒนาขยะจากเปลือกกล้วยเพื่อใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน การจัดการขยะและ การพัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์ในจังหวัดพิษณุโลก

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การวิจัยและพัฒนาขยะจากเปลือกกล้วย เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน โดยนำขยะที่เหลือทิ้งจากการผลิตผลิตภัณฑ์จากกล้วย มาทำการวิจัย 2 โครงการ
โครงการที่ 1 ทำการสกัดเซลลูโลสและใยอาหารจากเปลือกกล้วย
โครงการที่ 2 ผลิตถ่านและถ่านกัมต์มันจากส่วนต่างๆของกล้วย เช่น ก้านเครือ หวี และเปลือก เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง

แผนการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสมของชุมชน: กรณีศึกษาพื้นที่กำจัดขยะ ใน อบต.ในเมือง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การกำจัดขยะมูลฝอยในเขต อบต.ในเมือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ เป็นการกำจัดขยะแบบเทกองกลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการกำจัดที่ไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและอยู่ใกล้กับแหล่งชุมชน ทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนใกล้เคียง

การศึกษาเชิงนโยบายและการยอมรับของประขาชนในการผลิต ไฟฟ้าจากชีวมวล (จากขยะในเขตกรุงเทพๆ-ปริมณฑลและนอกเขต ปริมณฑล)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาแนวทางการจัดการขยะจำแนกตามปริมาณขยะสำหรับประเทศไทยแบ่งการศึกษาเป็น 3 กลุ่มได้แก่
1. กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
2. ระดับอำเภอ (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
3. ระดับตำบล (ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร)
โดยในแต่ละกรณีจะนำเสนอแนวทางโดยพิจารณาผลกระทบ 3 ด้านได้แก่ ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม