ไบโอดีเซล

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการเป็นศูนย์กลางการค้าเชื้อเพลิงชีวภาพ(HUB) ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้และศึกษาแนวทางกำหนดดัชนีของราคาเอทานอล(Benchmark Price) ที่ซื้อขายในเอเซีย

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันในบางไตรมาส มีการผลิตเอทานอลมากกว่าความต้องการใช้ในประเทศ จึงจำเป็นต้องส่งออกเอทานอลไปยังประเทศที่มีความต้องการเอทานอล เช่น จีน อินเดีย เกาหลี เป็นต้น ดังนันจึงควรมีการวิเคราะห์ศักยภาพและศึกษาความเป็นไปได้สำหรับประเทศไทยที่จะเป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel Hub) ในภูมิภาคเอเชีย

โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซลชุมชนในปัจจุบัน หลังจากที่มีการแยกกลีเชอรีนจากไบโอดีเซลแล้วจะทำไบโอดีเซลให้ฆริสุทธิ้ด้วยการล้างนั้าเปล่า 3-4 ครั้ง ส่งผลให้เกิดนํ้าเสียขื้น นอกจากนั้นการล้างนํ้าแต่ละครั้งจะใช้เวลานานเพื่อให้เกิดการแยกตัวระหว่างนั้าล้างกับไบโอดีเซล และสุดท้ายต้องมีการกำจัดน้ำในไบโอดีเซล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้นํ้าล้างไบโอดีเซลจะหมดไปถ้าเปลี่ยนเทคนิคมาใช้สารดูดซับแทนการใช้สารดูดซับจะช่วยให้ไม่มีนั้าเสียจากการล้าง ไบโอดีเซลไม่ต้องให้ความร้อนเพื่อกำจัดนั้าที่ตกค้างอีกทั้งยังประหยัดเวลาในการผลิต การเพาะปลูกสบู่ดำ ซงเป็นฟืชนํ้ามันที่สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การเปรยบเ

โครงการพัฒนาประเมินผลและเสนอแนะด้านบริหารจัดการ โครงการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานด้วยไบโอดีเซลฃชุมชน (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ตามที่รัฐบาลได้มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลจากปาล์มและแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 และวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ตามลําดับ ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงพลังงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ โดยกระทรวงพลังงาน ได้แบ่งการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและการใช้ไบโอดีเซลออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การพัฒนาไบโอดีเซลในระดับชุมชน และการพัฒนาไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาผลิตและใช้ไบโอดีเซล (B100) 3.02 ล้านลิตร/วัน ในปี พ.ศ.2554

การผลิตไฮโดรเจนจากกลีเซอรอลซี่งเป็นผลิตภัณฑ์ข้างเคียงจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

งานวิจัยนี้ได้ใช้กลีเซอรอลความบริสุทธิ์ต่าหรือที่เรียกว่ากลีเซอรอลเหลืองซึ่งได้จากหอกลั่นแยกกลีเซอรอลโดยมีความบิรสุทธิ์น้อยกว่ากลีเซอรอลบริสุทธิ์มาเป็นวัตถุดิบ มาผลิตเป็นก๊าซไฮโดรเจน

การสกัดและการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งจุลินทรีย์ฃองสารสกัดที่ได้ จากสบู่ดำ

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการวิจัยนี้ได้สกัดสารที่มีมูลค่าสูงเพื่อใช้ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรคพืชได้หลายสายพันธุ์ นาไปสู่การใช้เป็นสารป้องกันศัตรูพืชและสารปราบศัตรูพืชทางธรรมชาติ ทดแทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ โดยศึกษาสมบัติบางประการและหาลักษณะโครงสร้างทางเคมีของสารสกัดเหล่านั้นด้วยเทคนิคและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ นอกจากจะเป็นการนาสารเคมีที่มีในสบู่ดาไปใช้ประโยชน์แล้ว ยังเป็นการกาจัดและลดการสะสมสารพิษบางชนิดที่เกิดอันตรายกับคนได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของสบู่ดาให้มากขึ้น

Pages