2550

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตขยะเชื้อเพลิง (RDF)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        ขยะมูลฝอยชุมชน มีองค์ประกอบประมาณร้อยละ 40-60 เป็นขยะอินทรีย์ และขยะที่เผาไหม้ได้ ประมาณร้อยละ 20-40 และวัสดุเฉื่อยที่ไม่เผาไหม้อิกประมาณร้อยละ 5-20 ซึ่งหากมีการนำขยะอินทรีย์ไป ผลิตก๊าชชีวภาพ และนำขยะที่เผาไหม้ได้มาผลิตขยะเชื้อเพลิง ก็จะเหลือฃยะที่ต้องนำไปฝังกลบซึ่งเป็นวัสดุเฉื่อยเพียงประมาณร้อยละ 5-20 เท่านั้น

การส่งเสริมและสาธิตการผลิตพลังงานจากขยะ (การรณรงค์สร้างความเข้าใจเพื่อส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 
      พลังงานจากขยะ เป็นพลังงานทดแทนอย่างหนึ่งที่มีความเป็นไปได้ในการผลิตไฟฟ้า จากการที่ปริมาณขยะชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของชุมชน การนำขยะซึ่งมีเป็นจำนวนมากมาผลิตไฟฟ้า จึงเป็นประโยชน์ทั้งในการผลิตพลังงานทดแทนและยังเป็นการจัดการของเสียที่ถูกวิธีอีกด้วย

โครงการการพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ข้าวฟ่างหวานเป็นพืชที่มีศักยภาพในการใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเอทานอลเชื้อเพลิงเพราะในน้ำคั้นลำต้นมีปริมาณน้ำตาลสูงใกล้เคียงกับอ้อย และเป็นน้ำตาลที่ยีสต์สามารถนำไปใช้และเปลี่ยนเป็นเอทานอลได้โดยตรง นอกจากนี้ยังเป็นพืชอายุสั้นสามารถเก็บเกี่ยวได้ใน 100 – 120 วัน ความสามารถในการเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นเอทานอลขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น สายพันธุ์ยีสต์ กระบวนการหมัก และความเข้มข้นของน้ำตาลเริ่มต้น เป็นต้น งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากระบวนการหมักเอทานอลจากน้ำคั้นลำต้นข้าวฟ่างหวาน โดยยีสต์ Saccharomyces cerevisiae NP 01 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลโดยกระบวนการหม

โครงการการศึกษาต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้าซีวมวลขนาดเล็ก สำหรับชุมชน

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในการศึกษา “ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กสำหรับชุมชน” นี้จะเป็นการศึกษาต่อยอดในส่วนของ การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็ก

โครงการการใช้ประโยขน์ไม้โตเร็วเพื่อเป็นพลังงานทดแทนในการ ผลิตกระแสไฟฟ้าและแก๊สหุงต้ม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการการใช้ประโยชน์ไม้โตเร็วเพื่อเป็นพลังงานทดแทนในการผลิตกระแสไฟฟ้าและแก๊สหุงต้มเป็นโครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์หลักคือ จัดตั้งเครือข่ายชุมชนไม้โตเร็ว และพัฒนาระบบการบริหารจัดการไม้โตเร็วในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งโครงการได้ทาการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้เศรษฐกิจ ตาบลหนองพอก โดยมีความร่วมมือกับสถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด มีสมาชิกทั้งหมด 37 คน ได้รับการสนับสนุนกล้าไม้ยูคาลิปตัสพันธุ์จานวน 17,129 กล้า และความรู้เรื่องการปลูกและการจัดการจากโครงการวิจัย โดยกลุ่มฯ ได้จัดการจาหน่ายกล้าไม้ให้สมาชิกในราคาต้นละ 1 บาท เพื่อนาเงินที่ได้มาเป็นกองทุนในการดาเนินงานบริหารงานของกลุ่มฯ และขยาย

Pages