มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การศึกษาและออกแบบโครงการนำร่องการพัฒนาพลังนํ้าฃนาดเล็ก เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าใบพื้นที่ลุ่มนํ้าซี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การศึกษาศักยภาพและประเด็นทางกฎหมายในการพัฒนาไฟฟ้า พลังนํ้าในลุ่มนํ้าวัง

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าฃนาด เล็กในลุ่มนํ้าปิง

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการวิจัยมุ่งเน้นที่จะศึกษาและจัดทำฐานข้อมูลด้านกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวกับการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กในลุ่มน้ำปิงโดยเน้นข้อจำกัดด้านพื้นที่ ตลอดจนเสนอแนะแนวทางที่จะบรรเทาข้อจำกัดต่าง ๆ

โครงการการศึกษาวางแผนพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าในพื้นที่ลุ่มนํ้าปิงและยม

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก นับเป็นทางเลือกหนึ่งในการบรรเทาปัญหาวิกฤติน้ำมันและพลังงาน โดยสามารถลดการจัดหาทรัพยากรพลังงานที่เป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล จากต่างประเทศ และเป็นการลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศอีกด้วย โดยทางเทคนิคแล้ว ไฟฟ้าพลังน้ำสามารถพัฒนาและดำเนินการได้ง่ายภายในระยะเวลาอันสั้น มีบทบาทที่สำคัญทั้งในการเป็นแหล่งผลิตระดับท้องถิ่นให้กับพื้นที่ที่มีความต้องการไฟฟ้าโดยตรงและยังสามารถเป็นแหล่งพลังงานเสริมให้กับระบบไฟฟ้าหลักของประเทศได้ด้วย ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยใช้ศักยภาพของพลังงานน้ำไปเพียงประมาณร้อยละ 30 เท่านั้น

โครงการสาธิตการเปลี่ยนขยะในมหาวิทยาลัยเป็นพลังงานในรูปความร้อน

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ที่มีปัญหาขยะที่เกิดขึ้นภายในมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ซึ่งมีหอพักนักศึกษาอยู่ในเขตพื้นที่ของมหาวิทยาลัย มีปริมาณขยะเกิดขึ้นประมาณ 8 - 10 ตันต่อวัน โดยมีวิธีการจัดการขยะในปัจจุบัน คือ การจ้างเหมาบริษัทเอกชนขนขยะไปทิ้งในหลุมฝังกลบที่อยู่ในพื้นที่อื่น ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการจัดการขยะในมหาวิทยาลัยดังกล่าว โดยการจัดการที่เหมาะสมควรมุ่งเน้นที่การลดปริมาณขยะด้วยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นเทคโนโลยีที่มหาวิทยาลัย

Pages