โครงการในรูปแบบอื่นๆ

โครงการศึกษากำหนดแนวทางส่งเสริมการใซ้ซีวมวลแบบผลิตพลังงานความร้อนตามแผนพัฒนาพลังงานทตแทน 15 ปี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

        เนื่องด้วยประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตส่วนใหญ่จึงได้จากการเกษตรเป็นสำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์มนํ้ามัน เป็นด้น ซึ่งภายหลังจากการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปพืซผล ทางการเกษตรจะมีชีวมวลหรือเศษวัสดุเหลือทิ้งอยู่บริเวณพื้นที่เพาะปลูก หรือบริเวณสถานที่แปรรูปพืชผล การเกษตรเป็นจำนวนมาก เช่น กากอ้อย แกลบ กากใยปาล์ม ซังข้าวโพด และเศษไม้ เป็นด้น ซึ่งวัสดุ เหลือทิ้งดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นเชื้อเพลิงที่ดี ประกอบกับราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ในปัจจุบัน ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้าหลายแหล่งได้นำเอาวัสดุเหลือทิ้งหรือชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเสร

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย

รูปแบบของโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวจะมีวัสดุเหลือทิ้งในปริมาณค่อนข้างมาก นอกจากนี้ยังมีชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เส้นใยและกะลาปาล์ม เป็นต้น โดยปกติแล้วโรงงานอุตสาหกรรมจะใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้แก่ น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ก๊าซหุงต้ม(แอลพีจี) ถ่านหิน เนื่องจากคุณสมบัติเชื้อเพลิงที่มีค่าความร้อนสูง การขนส่งเชื้อเพลิงสามารถทำได้สะดวก และราคาเชื้อเพลิงไม่สูงมากนัก แต่ในช่วงระยะเวลากว่าสิบปี ที่ผ่านมาราคาเชื้อเพลิงปิโตรเลียมได้ปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกราคาในตลาดโลก ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากปิ โตรเลียมมาใ

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม SMEs

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันต้นทุนพลังงานเป็นปัจจัยแปรผันสำคัญของสถานประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารธุรกิจ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เพี่อให้สถานประกอบการสามารถดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยตนเอง รวมทั้งมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสำนึกให้กับพนักงานในองค์กร

โครงการติดตามประเมินผลการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม (SMEs)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการติดตามประเมินผลความสำเร็จของโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมสำหรับสถานประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้แก่ ผลการดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ความพึงพอใจในการดำเนินกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ปัญหาและอุปสรรคต่างๆในการดำเนินงาน ความต้องการด้านการส่งเสริมและสนับสนุนต่างๆจากภาครัฐ และข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางส่งเสริมและพัฒนาโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนต่อไป

โครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐ (นอกข่ายควบคุม)

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)
จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการพลังงานในอาคารภาครัฐนอกข่ายควบคุม (อาคารที่ติดตั้งหม้อแปลงต่ำกว่า ๑,๑๗๕ กิโลโวลท์แอมแปร์) โดยเริ่มดำเนินการในอาคารประเภทสำนักงานและโรงพยาบาลทั่วประเทศ จำนวน ๕๐ แห่ง

Pages