2552

โครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ สถานีกังหันลมผลิตไฟฟ้าสทิงพระ บ้านพังสเม็ด อ.สทิงพระ จ.สงขลา

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้ดำเนินการโครงการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการศึกษาความเหมาะสม จัดหา และติดตั้งอุปกรณ์เครื่องวัดพลังงานลมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยจากผลการศึกษาปรากฎว่า บริเวณชายหาด อ.สทิงพระ จ.สงขลา เป็นที่ที่มีศักยภาพ จึงได้ดำเนินการขอรับการสนับสนุนด้านการเงินจาก สนพ.

โครงการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าจ่ายไฟร่วมกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล เกาะเต่า จ.สุราษฎร์ธานี

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันเกาะเต่า อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี มีการจ่ายไฟด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลตลอด 24 ชั่วโมง และเนื่องจากเกาะเต่าอยู่ห่างจากฝั่งประมาณ 75 กิโลเมตร การขนส่งน้ำมันดีเซลจากชายฝั่งไปสู่เกาะมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ามีค่าสูงถึงประมาณหน่วยละ 10 บาท แต่ กฟภ.

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม SMEs

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ปัจจุบันต้นทุนพลังงานเป็นปัจจัยแปรผันสำคัญของสถานประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารธุรกิจ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เพี่อให้สถานประกอบการสามารถดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยตนเอง รวมทั้งมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสำนึกให้กับพนักงานในองค์กร

โครงการติดตามประเมินผลการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม (SMEs)

รูปแบบของโครงการ: 
เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

โครงการติดตามประเมินผลความสำเร็จของโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมสำหรับสถานประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้แก่ ผลการดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ความพึงพอใจในการดำเนินกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ปัญหาและอุปสรรคต่างๆในการดำเนินงาน ความต้องการด้านการส่งเสริมและสนับสนุนต่างๆจากภาครัฐ และข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางส่งเสริมและพัฒนาโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนต่อไป

โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต

เครือข่าย/หน่ายงานรับผิดชอบโครงการ: 
ปีดำเนินโครงการ: 

ในขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซลชุมชนในปัจจุบัน หลังจากที่มีการแยกกลีเชอรีนจากไบโอดีเซลแล้วจะทำไบโอดีเซลให้ฆริสุทธิ้ด้วยการล้างนั้าเปล่า 3-4 ครั้ง ส่งผลให้เกิดนํ้าเสียขื้น นอกจากนั้นการล้างนํ้าแต่ละครั้งจะใช้เวลานานเพื่อให้เกิดการแยกตัวระหว่างนั้าล้างกับไบโอดีเซล และสุดท้ายต้องมีการกำจัดน้ำในไบโอดีเซล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้นํ้าล้างไบโอดีเซลจะหมดไปถ้าเปลี่ยนเทคนิคมาใช้สารดูดซับแทนการใช้สารดูดซับจะช่วยให้ไม่มีนั้าเสียจากการล้าง ไบโอดีเซลไม่ต้องให้ความร้อนเพื่อกำจัดนั้าที่ตกค้างอีกทั้งยังประหยัดเวลาในการผลิต การเพาะปลูกสบู่ดำ ซงเป็นฟืชนํ้ามันที่สามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล การเปรยบเ

Pages